Page 32 - kpi20973
P. 32

31



                               6) ระดับร่วมติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล เป็นระดับการมีส่วนร่วมที่มีผู้เข้าร่วมน้อย

                 แต่มีประโยชน์ที่ผู้ที่เกี่ยวข้องหรือได้รับผลกระทบ สามารถมาคอยติดตามการด้าเนินกิจกรรมนั นๆ ได้ รูปแบบ

                 ของการติดตาม ตรวจสอบ หรือประเมินผล อาจอยู่ในรูปแบบของการจัดตั งคณะกรรมการติดตาม ประเมินผล

                 ที่มาจากหลายฝ่าย การสอบถามประชาชนโดยการท้าการส้ารวจเพื่อให้ประชาชนประเมิน การประเมินผลนี

                 มีความส้าคัญมาก เพราะจะมีผลกระทบต่อการพิจารณาจัดสรรประโยชน์ การยุติหรือคงไว้ ตลอดจนปรับปรุง

                 นโยบายหรือโครงการ

                               7) ระดับการควบคุมโดยประชาชน  เป็นระดับสูงสุดของการมีส่วนร่วมโดยประชาชนเพื่อ

                 แก้ ปัญหาข้อขัดแย้งที่มีอยู่ทั งหมด เช่น การลงประชามติ เป็นต้น


                            ทั งนี การที่ประชาชนจะมีส่วนร่วมในล้าดับสูงขึ นๆ ไปได้ จะต้องมีส่วนร่วมในล้าดับล่างๆ ก่อน จึง

                 จะท้าให้มีส่วนร่วมมีประสิทธิผล เพราะหากปราศจากข้อมูลประชาชนจะท้าหน้าที่ร่วมให้ความเห็น

                 ปรึกษาหารือ ร่วมตัดสินใจ ติดตาม ตรวจสอบได้อย่างไรในการจะแสดงความคิดเห็น นอกจากนี การให้ความ

                 คิดเห็นที่เหมาะสมอาจด้าเนินการหลังจากได้มีเวลาศึกษาข้อมูล มาแล้ว รูปแบบการรับฟังความคิดเห็น อาทิ

                 การส้ารวจโดยแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ การรับ ฟังผ่านเวทีประชาชน ผ่านวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์

                 โทรศัพท์ จดหมายหรือกล่องรับความ คิดเห็น เป็นต้น กล่าวได้ว่า ลักษณะของการมีส่วนร่วม ต้องมีส่วนร่วม

                 อย่างครบวงจรตั งแต่เริ่มต้นโครงการหรือกิจกรรมจนถึงสิ นสุด ไม่ใช่เป็นการจัดเวทีการมีส่วนร่วมครั งเดียว แต่

                 ควรเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมหรือโครงการตั งแต่กระบวนการเริ่มต้นจนสิ นสุด


                        2.1.7 ปัญหาและอุปสรรคของการมีส่วนร่วม


                            มีผู้ศึกษาปัญหาและอุปสรรคของการมีส่วนร่วมไว้เช่นเดียวกัน  ซึ่งมีเหตุผลแตกต่างกันไปตาม

                 สถานการณ์ในประเด็นปัญหาอุปสรรคของการมีส่วนร่วมของประชาชนได้รวบรวมเพื่อน้าไปประกอบการ

                 วิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคที่มีในชุมชนที่ท้าการศึกษา


                            เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง (2527: 10) ได้กล่าวว่า เจ้าหน้าที่และระบบราชการเป็นอุปสรรคต่อการมีส่วนร่วม
                 ของประชาชนไว้ 2 ด้าน ดังนี


                               1) ปัญหาเกี่ยวกับตัวประชาชนเองถึงความเป็นปัจเจกบุคคล นอกจากนั นชาวบ้านยังอยู่ภายใต้
                 ระบบอุปถัมภ์หรือพึ่งบุคคลภายนอกจนเกินไป ดูถูกฐานะของตนเอง เลือกผู้น้าที่สามารถอุปถัมภ์ตนเองได้


                               2) ปัญหาเกี่ยวกับตัวของเจ้าหน้าที่และระบบราชการ  ปัญหาการมีส่วนร่วมของประชาชน

                 มีลักษณะ ดังนี

                                   2.1) นโยบายในระบบราชการมักจะมาจากเบื องบน
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37