Page 37 - kpi20973
P. 37
36
2.3 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชน
2.3.1 ความหมายของการพัฒนา
การพัฒนา (Development) ความหมายและการท้าความเข้าใจในความหมายของค้าว่า “การ
พัฒนา” ได้มีผู้แสดงความคิดเห็นไว้หลายคน ดังนี
ชนิตา รักษ์พลเมือง (2532 : 73) กล่าวว่า การศึกษาการพัฒนา (Development studies) ที่
ปรากฏออกมาในลักษณะทางเทคนิคนั น ท้าให้การพัฒนาต้องควบคู่กับดัชนีชี น้าการพัฒนาโดยเฉพาะซึ่งเป็น
เทคนิคหนึ่ง ดัชนีชี น้าการพัฒนานี เป็นสิ่งที่ประเทศก้าลังพัฒนาเป็นผู้ก้าหนดขึ น ดังจะเห็นทฤษฎีการสร้างความ
ทันสมัย (Modernization Theory) ซึ่งเกี่ยวข้องอย่างมากกับการพัฒนา ได้ระบุว่ากระบวนการพัฒนาเป็นเรื่อง
ของการที่สังคมหรือชุมชนในประเทศที่ก้าลังพัฒนา ได้มาซึ่งลักษณะอันควรจะเป็นของประเทศพัฒนา ไม่ว่า
จะเป็นลักษณะทางเศรษฐกิจแบบอุตสาหกรรมหรือสังคมวัฒนธรรม อย่างไรก็ตามในปัจจุบันมีการตระหนัก
กันว่าการแปลความหมายของการพัฒนาในลักษณะดังกล่าวเป็นการไม่ถูกต้อง แนวความคิดเกี่ยวกับการ
เปลี่ยนแปลงสังคมไม่ว่าจะเป็นความก้าวหน้า (Progress) ความทันสมัย (Modernization) และการพัฒนา
(Development) เป็นความเข้าใจและพัฒนาความคิดว่าความหมายของค้าทั ง 3 ค้านี จะต้องไม่หยุดนิ่งตายตัว
แต่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลสมัยอยู่ตลอดเวลาและจุดเน้นของการพัฒนาก็เปลี่ยนไปด้วย
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2538 : 238) ความหมายจากรูปศัพท์ในภาษาไทยหมายถึง
การท้าความเจริญ การเปลี่ยนแปลงในทางที่เจริญขึ น การคลี่คลายไปในทางที่ดี ถ้าเป็นกริยา ค้าว่า “พัฒนา”
หมายความว่า ท้าให้เจริญ คือ ท้าให้เติบโตได้งอกงาม ท้าให้งอกงามและมากขึ น
ดิเรก ฤกษ์หร่าย (2543 : 282) ให้ความหมายว่า การพัฒนานั นเป็นกระบวนการ (Process) ที่
จะต้องมีองค์ประกอบของเครื่องชี วัดที่ส้าคัญและต้องผสมผสานระหว่าง
1) มีการเปลี่ยนแปลง (Change) ในทางบวก ได้แก่ การปรับปรุงเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิต
เสมอ ถ้าเปลี่ยนแปลงในทางลบไม่ถือว่าเป็นการพัฒนา คือ การเปลี่ยนแปลงนั นจะต้องดีขึ น เจริญขึ น งอกงาม
ขึ น และต้องเกี่ยวข้องกับ 4 แกนหลัก คือ คน โครงสร้าง เทคโนโลยีและระบบหรืองาน รวมทั งสิ่งแวดล้อมด้วย
2) การเปลี่ยนแปลงนั นต้องมีการควบคุม (Control) ทิศทางของการเปลี่ยนแปลงได้โดยการ
ก้าหนดเป็นแผนที่ชัดเจนและน้าไปสู่การปฏิบัติที่ด้าเนินตามเป้าหมายอย่างเด่นชัดและปรับเปลี่ยนยืดหยุ่น
ได้ตามความเหมาะสมของสถานการณ์และเวลาที่เปลี่ยนแปลงไป โดยมีจุดเน้นของการพัฒนาโดยประชาชน
เพื่อประชาชนและเป็นการพัฒนาแบบยั่งยืน