Page 34 - kpi20973
P. 34

33



                            Brocdbeck (อ้างถึงในกลุ่มงานส่งเสริมสัมมาชีพชุมชน ส้านักงานส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน

                 กรมการพัฒนาชุมชน, 2560 : 1)  อธิบายว่า กลุ่มคือการรวมตัวกันของปัจเจกบุคคลที่มีความเกี่ยวข้องซึ่งกัน

                 และกัน ความเกี่ยวข้องนั นมีลักษณะที่แน่นอน กล่าวคือ สามารถสังเกตเห็นได้ และชนิดของความเกี่ยวข้องนั น

                 จะขึ นอยู่กับหรือชี ให้ทราบถึงชนิดของกลุ่มว่า จะเป็นครอบครัว ผู้ฟัง สหภาพแรงงาน หรือฝูงชน


                            Arther F. Bentley (อ้างถึงในกลุ่มงานส่งเสริมสัมมาชีพชุมชน ส้านักงานส่งเสริมความเข้มแข็ง

                 ของชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน, 2560 : 1) ผู้ริเริ่มแนวคิดเรื่องกลุ่มทางการเมืองได้ให้ความหมายไว้ว่า

                 “กลุ่ม” คือ มวลมนุษย์ที่มารวมกันเพราะมีกิจกรรมที่มีจุดมุ่งหมายร่วมกันและปัจเจกชนแต่ละคน จะใช้กลุ่ม

                 เพื่อให้ได้มาซึ่งผลประโยชน์ทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจ กลุ่มทุกกลุ่มจะมีผลประโยชน์จึงจะเป็นของ

                 คู่กัน

                            ประเวศ วะสี  กล่าวว่า “กลุ่มหรือองค์กรชุมชน” ถือเป็นกลไกที่ส้าคัญยิ่งในการพัฒนาชุมชน


                 ให้เกิดความยั่งยืน เพราะองค์กรดังกล่าวคือรูปแบบของการรวมตัวกันทางสังคมที่จะต้องถ่วงดุลกับอ้านาจรัฐ
                 และอ้านาจเงิน เป็นการรวมตัวกันของชาวบ้านตั งแต่ 2 คนขึ นไป ซึ่งมีชื่อเรียกกันหลายอย่าง เช่น องค์กร


                 ชุมชน องค์กรประชาชน องค์กรชาวบ้าน หรือกลุ่มสนใจ เป็นต้น

                            ดังนั น กลุ่มหรือองค์กรชุมชนเป็นองค์กรที่เกิดจากการรวมกลุ่มของชาวบ้านในชุมชนนั นๆ เพื่อ

                 ร่วมกันแก้ไขปัญหาของชุมชน รูปแบบของการรวมกลุ่มของชาวบ้านมีหลายรูปแบบ บางองค์กรเกิดจากการ

                 จัดตั งอย่างเป็นทางการโดยรัฐหรือไม่เป็นทางการโดยองค์กรพัฒนาเอกชน ดังนี


                               1) องค์กรชาวบ้านที่ทางราชการจัดตั ง เช่น คณะกรรมการหมู่บ้าน กองทุนหมู่บ้าน กลุ่ม

                 เกษตรกร สหกรณ์การเกษตร เป็นต้น  โดยองค์กรเหล่านี จะมีเจ้าหน้าที่ของรัฐ กฎหมาย กฎระเบียบทาง

                 ราชการก้ากับดูแลและให้การสนับสนุน

                               2) องค์กรชาวบ้านแบบไม่เป็นทางการ มักมีชื่อเรียกเป็นกลุ่มที่ชาวบ้านรวมตัวกันท้ากิจกรรม

                 พัฒนาต่างๆ เช่น กลุ่มสตรี กลุ่มทอผ้า กลุ่มผู้ใช้น ้า กลุ่มอาชีพ กลุ่มออมทรัพย์ เป็นต้น กลุ่มเหล่านี มักมี

                 กฎระเบียบไม่มากนัก และไม่ขึ นต่อทางราชการ หรือเอกชนที่เข้าไปจัดตั ง แต่จะขึ นอยู่กับความสมัครใจและ

                 การก้าหนดกฎเกณฑ์ขึ นมาเองจึงค่อนข้างอิสระและมักจัดรูปแบบโครงสร้างองค์กรตามเนื อหาของงานหรือ

                 กิจกรรมที่ด้าเนินการ


                               3) องค์กรชาวบ้านที่รวมตัวกันเป็นเครือข่าย อาจเป็นองค์กรที่ชาวบ้านจัดตั งขึ นเอง หรือมี

                 องค์กรพัฒนาเอกชน ราชการ เข้าไปสนับสนุนการรวมกิจกรรมที่คล้ายๆ กันเป็นกลุ่มก้อน หรือรวมปัญหา

                 หลายๆ ปัญหาเข้าด้วยกัน เช่น ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ ปัญหาเกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตร เป็นต้น
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39