Page 35 - kpi20973
P. 35
34
4) องค์กรที่ชาวบ้านจัดตั งขึ นมาเอง โดยไม่มีการจัดโครงสร้างองค์กรอย่างชัดเจน แต่จะมี
การยอมรับผู้น้าคนใดคนหนึ่งเข้ามาเป็นหัวหน้าและยอมรับฟังค้าสั่งต่างๆ เช่น การรวมตัวเพื่อดูแลรักษาต้นน ้า
ล้าธาร คุ้มครองทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
การรวมกันเป็นกลุ่มต้อง ประกอบด้วย 1) มีสมาชิกตั งแต่สองคนขึ นไป 2) มีจุดประสงค์ของ
การรวมกันที่แน่นอน 3) มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก 4) มีบรรทัดฐาน (Norms) ที่กลุ่มก้าหนดขึ นมาเพื่อให้
สมาชิกถือปฏิบัติ 5) มีความสามัคคี ความผูกพัน และการรวมตัว 6) มีการแสดงพฤติกรรมตามบทบาทหน้าที่
สมาชิก 7) มีโครงสร้างของกลุ่ม ซึ่งแสดงให้เห็นถึงเส้นทางการ ติดต่อและการปฏิบัติระหว่างสมาชิก
ลักษณะกลุ่มที่พึ่งตนเองได้ คือ 1) กลุ่มมีผู้น้าที่ดี 2) สมาชิกมีความเต็มใจท้างานเพื่อให้กลุ่มบรรลุ
เป้าหมาย 3) มีวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ท้าได้จริง มีความสอดคล้องกับความสามารถของผู้น้าและสมาชิก
รวมทั งต้องมีความร่วมมือกันภายในกลุ่มเป็นอย่างดี 4) สมาชิกมีความสนใจในกิจกรรมกลุ่มอย่างแท้จริง 5) กลุ่ม
มีการตัดสินใจที่เป็นอิสระด้วยตนเอง 6) ผู้น้าและสมาชิกมีส่วนร่วมในการวางแผนและควบคุมการท้างานซึ่งกัน
และกัน โดยในทางปฏิบัติ “กลุ่ม” จะเป็นการรวมตัวกันมากกว่า 10 คน โดยกลุ่มที่ประสบความส้าเร็จ
มีองค์ประกอบหลักในการพิจารณาซึ่งเป็นแนวทางในการด้าเนินงานหรือมีการส่งเสริมหรือการสนับสนุน โดยใช้
หลัก 5 ก ได้แก่ กลุ่มสมาชิก คณะกรรมการ กติกา กิจกรรม และกองทุน
2.2.2 ขั นตอนการจัดตั งและพัฒนากลุ่ม ประกอบด้วย บันได 5 ขั นตอน ดังนี
ขั นตอนที่ 1 ส้ารวจสถานการณ์และความต้องการของชุมชนเป็นการหาข้อมูลเพื่อท้าให้ได้รู้
สถานการณ์ที่แท้จริงและความต้องการที่แท้จริงของชุมชน ประกอบด้วย
1.1) ร่วมกับภาคีการพัฒนาส้ารวจชุมชน
1.2) น้าข้อมูลชุมชนมาวิเคราะห์
1.3) จัดเวทีเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
1.4) จัดท้าประชาพิจารณ์ชุมชน
ขั นตอนที่ 2 วิเคราะห์ปัญหาชุมชนและผลประโยชน์ของชุมชนเพื่อให้รู้ความต้องการ ปัญหาของ
ชุมชน รู้กิจกรรมที่จะด้าเนินการ
ขั นตอนที่ 3 แสวงหาผู้น้าหรือจัดตั งกลุ่ม ประกอบด้วย
3.1) แสวงหาผู้น้าที่มีความสามารถและเข้าใจการด้าเนินกิจกรรม
3.2) จัดตั งกลุ่มที่เกิดจากการเรียนรู้และความต้องการของสมาชิก