Page 33 - kpi20973
P. 33

32



                                2.2) การจัดสรรงบประมาณท้ามาจากส่วนล่าง ค้านึงถึงเฉพาะกิจกรรมที่ส่วนกลางก้าหนด

                                2.3) ระบบราชการและเจ้าหน้าที่ระดับต่างๆ ขาดการประสานงาน และรับปฏิบัติเฉพาะ

              นโยบายหลักของหน่วยงาน

                                2.4) มีความสัมพันธ์แบบผู้ใหญ่ผู้น้อย มักจะเชื่อว่าตัวเองมีฐานะสูงกว่าชาวชนบท

                                2.5) เจ้าหน้าที่ราชการชอบท้างานส้านักงาน

                                2.6) ระบบราชการใช้การให้คุณให้โทษ ท้าตัวให้พอใจแก่ผู้บังคับบัญชามิได้ปฏิบัติงานเพื่อ

              ชาวชนบทอย่างแท้จริง

                                2.7) บุคคลภายนอกหรือผู้เกี่ยวข้องไม่ต้องการให้ชาวชนบทเข้ามาร่วมในการพัฒนา


                         สรุปได้ว่า ปัญหาอุปสรรคของการมีส่วนร่วม ถ้าพูดถึงที่สุดความล้มเหลวของการพัฒนาชุมชน

              ในประเทศเราส่วนหนึ่งเกิดขึ นจากการที่ได้กระจายอ้านาจหน้าที่และความรับผิดชอบให้แก่ประชาชน

              โครงสร้างอ้านาจทางการเมือง การปกครอง การบริหารก็ดี โครงสร้างอ้านาจทางเศรษฐกิจก็ดี โครงสร้างทาง

              สังคมวัฒนธรรมก็ดี เหล่านี ล้วนตกอยู่ในมือของคนบางกลุ่มเท่านั น จึงไม่เห็นภาพของการกระจายอ้านาจจริงๆ

              ถ้ายังไม่มีการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโครงสร้างที่มีลักษณะผูกขาดของคนบางกลุ่ม ยากที่จะให้เกิดการพัฒนาแบบ

              มีส่วนร่วมของประชาชนที่แท้จริง เพราะพวกเขาไม่มีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมอย่างแท้จริง


                         ดังนั น การมีส่วนร่วมเพื่อให้เกิดความเข้มแข็งของการด้าเนินงานและขับเคลื่อนได้อย่างมีคุณภาพ

              ต้องอาศัยการมีส่วนร่วม ได้แก่ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมปฏิบัติ ร่วมประเมินผล และร่วมรับประโยชน์ และ

              รวมถึงต้องอาศัยปัจจัยหลายอย่างที่ส้าคัญ ได้แก่ สภาพแวดล้อมหรือบริบท ผู้น้า รางวัลตอบแทนจากการ

              ท้างาน และตัวบุคคลที่เข้าร่วมกลุ่มเพื่อขับเคลื่อนให้กลุ่มเกิดความเข้มแข็งด้าเนินงานสู่เป้าหมายที่ตั งไว้


              2.2 แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับกลุ่ม


                     2.2.1 ความหมายเกี่ยวกับกลุ่ม


                         Krech et all (อ้างถึงใน กลุ่มงานส่งเสริมสัมมาชีพชุมชน  ส้านักงานส่งเสริมความเข้มแข็งของ

              ชุมชน  กรมการพัฒนาชุมชน, 2560 : 1)  ได้ให้ความหมายของกลุ่มว่า “กลุ่ม” หมายถึง การที่มีคนตั งแต่ 2 คน

              ขึ นไป มาพบกันในสถานการณ์ต่อไปนี

                            1) มีอุดมคติในการรวมกลุ่มร่วมกัน คือ มีความเชื่อ คุณค่า และบรรทัดฐานซึ่งจะน้าไปสู่การ

              กระท้าร่วมกัน

                            2) มีสัมพันธภาพในกลุ่มอย่างอิสระและการแสดงพฤติกรรมของสมาชิกแต่ละคนมีอิทธิพล

              ต่อกัน
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38