Page 29 - kpi20973
P. 29

28



              ข้อเสียของประเด็นดังกล่าวให้ประชาชนเข้าใจอย่างสมบูรณ์และทั่วถึงเพียงใด  โดยในประเทศที่มีการพัฒนา

              ทางการเมืองแล้ว ผลของการลงประชามติจะมีผลบังคับให้รัฐบาลต้องปฏิบัติตาม แต่ส้าหรับประเทศไทยนั น

              รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันบัญญัติให้ผลของการประชามติมีทั งแบบที่มีข้อยุติโดยเสียงข้างมาก และแบบที่เป็น

              เพียงการให้ค้าปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรีซึ่งไม่มีผลบังคับให้รัฐบาลต้องปฏิบัติตามแต่อย่างใด (มาตรา 165)


                         โกวิทย์ พวงงาม (2545 : 8)  ได้สรุปการมีส่วนร่วมที่แท้จริงของประชาชนในการพัฒนาว่าควรจะ

              มี 4 ขั นตอน คือ

                            1) การมีส่วนร่วมในการค้นหาปัญหาและสาเหตุของปัญหาของแต่ละท้องถิ่น กล่าวคือ

              ถ้าหากชาวชนบทยังไม่สามารถทราบถึงปัญหาและเข้าใจถึงสาเหตุของปัญหาในท้องถิ่นของตนเป็นอย่างดีแล้ว

              การด้าเนินงานต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาของท้องถิ่นย่อมไร้ประโยชน์ เพราะชาวชนบทจะไม่เข้าใจและมองไม่เห็น

              ถึงความส้าคัญของการด้าเนินงานเหล่านั น

                            2) การมีส่วนร่วมในการวางแผนด้าเนินกิจกรรม เพราะการวางแผนด้าเนินงานเป็นขั นตอนที่

              จะช่วยให้ชาวชนบทรู้จักวิธีการคิด การตัดสินใจอย่างมีเหตุผล รู้จักการน้าเอาปัจจัยข่าวสารข้อมูลต่างๆ มาใช้

              ในการวางแผน

                            3) การมีส่วนร่วมในการลงทุนและการปฏิบัติงาน แม้ชาวชนบทส่วนใหญ่จะมีฐานะยากจน แต่

              ก็มีแรงงานของตนที่สามารถใช้เข้าร่วมได้ การร่วมลงทุนและปฏิบัติงานจะท้าให้ชาวชนบทสามารถคิดต้นทุน

              ด้าเนินงานได้ด้วยตนเอง ท้าให้ได้เรียนรู้การด้าเนินกิจกรรมอย่างใกล้ชิด

                            4) การมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผลงาน ถ้าหากการติดตามงานและประเมิน

              ผลงานขาดการมีส่วนร่วมแล้ว ชาวชนบทย่อมจะไม่ทราบด้วยตนเองว่างานที่ท้าไปนั นได้รับผลดี ได้รับ

              ประโยชน์หรือไม่อย่างใด การด้าเนินกิจกรรมอย่างเดียวกันในโอกาสต่อไป จึงอาจจะประสบความยากล้าบาก


                         การจัดล้าดับขั นของการมีส่วนร่วมของประชาชน มีความส้าคัญมากต่อความส้าเร็จของกิจกรรม

              หรือโครงการที่กระท้า แต่สิ่งที่ส้าคัญที่สุดคือการสื่อสารที่เข้าใจลงถึงประชาชนมีความชัดเจน จึงจะท้าให้

              ประชาชนเข้ามาร่วมกิจกรรมหรือโครงการในทุกๆ ขั นตอน


                     2.1.6 ลักษณะของการมีส่วนร่วม


                         กรรณิกา  ชมดี (2524 : 13) ได้สรุปลักษณะของการมีส่วนร่วม ดังนี

                            1) ร่วมเป็นผู้ริเริ่มหรือผู้เริ่ม             2) ร่วมเป็นผู้ชักชวน

                            3) ร่วมเป็นกรรมการ                            4) ร่วมเป็นผู้น้าร่วมสัมภาษณ์

                            5) ร่วมประชุม ร่วมออกเงิน วัสดุอุปกรณ์และแรงงาน   6) ร่วมเป็นผู้บริโภคหรือเป็นเจ้าของ
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34