Page 30 - kpi20973
P. 30
29
อรทัย ก๊กผล (2552 : 18) ได้กล่าวถึงหลักการมีส่วนร่วมของประชาชน จะต้องมีลักษณะของการ
มีส่วนร่วม ดังนี
1) เริ่มตั งแต่การเกิดจิตส้านึกในตนเองและถือเป็นภาระหน้าที่ของตน ในการเป็นส่วนหนึ่งของ
สังคมหรือชุมชนที่ตนเองอยู่
2) ร่วมคิดด้วยกันว่าอะไรที่เป็นปัญหาของชุมชน มีสาเหตุอย่างไร จะจัดล้าดับความส้าคัญของ
เป้าหมาย และควรที่จะจัดการกับปัญหาใดก่อนหลัง
3) ร่วมกันวางแผนการด้าเนินงานว่าจะจัดกิจกรรมหรือโครงการอะไร แบ่งงานกันอย่างไร
ใช้งบประมาณมากน้อยเพียงใด จัดหางบประมาณมาจากที่ใด
4) ร่วมด้าเนินงาน ประชาชนจะต้องร่วมกิจกรรมด้วยความเต็มใจเต็มก้าลังความรู้ความสามารถ
ของตนเอง
5) ร่วมกันติดตามประเมินผลตลอดเวลาที่ท้างานร่วมกัน ประชาชนจะต้องมีส่วนร่วมในการ
ตรวจสอบถึงปัญหาอุปสรรคและร่วมกันหาทางแก้ไขปัญหาเพื่อให้งานหรือภารกิจดังกล่าวสามารถส้าเร็จลุล่วง
ตามเป้าหมาย
6) ร่วมรับผลประโยชน์ ประชาชนที่เข้ามามีส่วนร่วมกิจกรรมของชุมชนและชุมชนย่อมได้รับ
ผลประโยชน์ร่วมกัน ไม่จ้าเป็นจะต้องอยู่ในรูปของเงิน วัตถุสิ่งของ แต่อาจเป็นความสุขสบาย ความพอใจใน
สภาพของความเป็นอยู่ที่ดีขึ นก็ได้
สถาบันพระปกเกล้า (2545 : 30) กล่าวถึงลักษณะของกระบวนการการมีส่วนร่วมออกเป็น 4
ขั นตอน คือ
1) การมีส่วนร่วมงานการวางแผน 2) การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ
3) การมีส่วนร่วมในการจัดสรรผลประโยชน์ 4) การมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผล
ถวิลวดี บุรีกุล (2552 : 21-24) ได้กล่าวถึงวิธีการแบ่งระดับขั นการมีส่วนร่วมของประชาชน อาจ
แบ่งได้หลายวิธีขึ นอยู่กับวัตถุประสงค์และความละเอียดของการแบ่งเป็นส้าคัญ การแบ่งระดับขั นมีดังนี
1) มีส่วนร่วมในการวางแผน 2) มีส่วนร่วมในการจัดสรรผลประโยชน์
3) มีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผล 4) มีส่วนร่วมในการปฏิบัติหรือด้าเนินการ
กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนอาจแบ่งได้จากระดับต้่าสุดไปหาระดับสูงสุด ออกเป็น
7 ระดับ และจ้านวนประชาชนที่เข้ามีส่วนร่วมในแต่ละระดับจะเป็นปฏิภาคกับระดับของการมีส่วนร่วม
กล่าวคือ ถ้าระดับการมีส่วนร่วมต้่า จ้านวนประชาชนที่เข้ามีส่วนร่วมจะมาก และยิ่งระดับการมีส่วนร่วมสูงขึ น
เพียงใด จ้านวนประชาชนที่เข้ามามีส่วนร่วมก็จะลดลงตามล้าดับ ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนเรียง
ตามล้าดับจากต้่าสุดไปหาสูงสุด ได้แก่