Page 28 - kpi20973
P. 28

27



                            เงื่อนไขหรือปัจจัยของการมีส่วนร่วมมีหลายประการ ตามกิจกรรมหรือโครงการที่กระท้า รวมถึง

                 ในแต่ละบริบทก็จะมีเงื่อนไขที่ไม่เหมือนกัน จึงจะท้าให้กิจกรรมหรือโครงการนั นไปสู่เป้าหมายที่วางไว้


                        2.1.5 ระดับขั นการมีส่วนร่วมของประชาชน


                            วันชัย วัฒนศัพท์  ถวิลวดี บุรีกุล และเมธิศา พงษ์ศักดิ์ศรี (2551 : 42)  กล่าวว่าการแบ่งระดับขั น

                 การมีส่วนร่วมของประชาชนอาจแบ่งได้หลายวิธี ขึ นอยู่กับวัตถุประสงค์และความละเอียดของการแบ่งเป็น

                 ส้าคัญ  โดยมีข้อพึงสังเกตคือ ถ้าระดับการมีส่วนร่วมต่้าจ้านวนประชาชนที่เข้ามีส่วนร่วมจะมาก และยิ่งระดับ

                 การมีส่วนร่วมสูงขึ นเพียงใด จ้านวนประชาชนที่เข้ามีส่วนร่วมก็จะลดลงตามล้าดับ ระดับการมีส่วนร่วมของ

                 ประชาชนเรียงตามล้าดับจากต่้าสุดไปหาสูงสุด ได้แก่

                               1) ระดับการให้ข้อมูล  เป็นระดับต่้าสุดและเป็นวิธีการที่ง่ายที่สุดของการติดต่อสื่อสารระหว่าง

                 ผู้วางแผนโครงการกับประชาชน  มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ข้อมูลแก่ประชาชน โดยวิธีการต่างๆ เช่น การแถลงข่าว

                 การแจกข่าวสาร และการแสดงนิทรรศการ เป็นต้น แต่ไม่เปิดโอกาสให้แสดงความคิดเห็นหรือเข้ามาเกี่ยวข้องใดๆ

                               2) ระดับการเปิดรับความคิดเห็นจากประชาชน เป็นระดับขั นที่สูงกว่าระดับแรก กล่าวคือ

                 ผู้วางแผนโครงการจะเชิญชวนให้ประชาชนแสดงความคิดเห็นเพื่อเป็นข้อมูลในการประเมินข้อดีข้อเสียของ

                 โครงการอย่างชัดเจนมากขึ น เช่น การจัดท้าแบบสอบถามก่อนริเริ่มโครงการต่างๆ หรือการบรรยายและเปิด

                 โอกาสให้ผู้ฟังแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงการนั นๆ เป็นต้น

                               3) ระดับการปรึกษาหารือ  เป็นการเจรจาอย่างเป็นทางการระหว่างผู้วางแผนโครงการและ

                 ประชาชน เพื่อประเมินความก้าวหน้าหรือระบุประเด็นข้อสงสัยต่างๆ เช่น การจัดประชุม การจัดสัมมนา

                 เชิงปฏิบัติการ และการเปิดกว้างรับฟังความคิดเห็น เป็นต้น

                               4) ระดับการวางแผนร่วมกัน เป็นระดับการมีส่วนร่วมที่ผู้วางแผนโครงการกับประชาชน

                 มีความรับผิดชอบร่วมกันในการวางแผนเตรียมโครงการ และผลที่จะเกิดขึ นจากการด้าเนินการโครงการ

                 เหมาะที่จะใช้ส้าหรับการพิจารณาประเด็นที่มีความยุ่งยากซับซ้อนและมีข้อโต้แย้งมาก เช่น การใช้กลุ่มที่ปรึกษา

                 ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง การใช้อนุญาโตตุลาการเพื่อแก้ปัญหาข้อขัดแย้ง และการเจรจา

                 เพื่อหาทางประนีประนอมกัน เป็นต้น

                               5) ระดับการร่วมปฏิบัติ เป็นระดับที่ผู้รับผิดชอบโครงการกับประชาชนร่วมกันด้าเนินโครงการ

                 เป็นขั นการน้าโครงการไปปฏิบัติร่วมกันเพื่อให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้

                               6) ระดับการควบคุมโดยประชาชน  เป็นระดับสูงสุดของการมีส่วนร่วมโดยประชาชนเพื่อ

                 แก้ปัญหาข้อขัดแย้งที่มีอยู่ทั งหมด เช่น การลงประชามติ แต่การลงประชามติจะสะท้อนถึงความต้องการของ

                 ประชาชนได้ดีเพียงใด ขึ นอยู่กับความชัดเจนของประเด็นที่จะลงประชามติและการกระจายข่าวสารเกี่ยวกับข้อดี
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33