Page 25 - kpi20973
P. 25

24



                            4)  การน้าไปปฏิบัติง่ายขึ น การเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจท้าให้ประชาชนมีความรู้สึก

              ของการ เป็นเจ้าของการตัดสินใจนั น และทันทีที่การตัดสินใจได้เกิดขึ น พวกเขาก็อยากเห็นมันเกิดผลในทาง

              ปฏิบัติ และยังอาจเข้ามาช่วยกันอย่างกระตือรือร้นอีกด้วย

                            5)  การหลีกเลี่ยงการเผชิญหน้าที่เลวร้ายที่สุด เพราะการเปิดโอกาสให้ฝ่ายต่างๆ เข้ามา

              แสดงความต้องการและข้อห่วงกังวลตั งแต่เริ่มต้นโครงการจะช่วยลดโอกาสของการโต้แย้งและการแบ่งฝ่าย ที่

              จะเป็นปัจจัยให้เกิดการเผชิญหน้าอย่างรุนแรงได้

                            6)  การคงไว้ซึ่งความน่าเชื่อถือและความชอบธรรม เนื่องจากกระบวนการตัดสินใจที่โปร่งใส

              และเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม จะสร้างความน่าเชื่อถือต่อสาธารณชนและเกิดความชอบธรรม

              โดยเฉพาะเมื่อต้องมีการตัดสินใจในเรื่องที่มีการโต้แย้งกัน

                            7)  การคาดการณ์ความห่วงกังวลและทัศนคติของสาธารณชน เพราะเมื่อเจ้าหน้าที่ที่

              เกี่ยวข้องได้มาท้างานร่วมกับสาธารณชนในกระบวนการมีส่วนร่วม พวกเขาจะได้รับรู้ถึงความห่วงกังวล และ

              มุมมองของสาธารณชนต่อการท้างานขององค์กร ซึ่งจะท้าให้เจ้าหน้าที่สามารถคาดการณ์ปฏิกิริยาตอบสนอง

              ของสาธารณชนต่อกระบวนการและการตัดสินใจขององค์กรได้

                            8)  การพัฒนาภาคประชาสังคม ประโยชน์อย่างหนึ่งของการมีส่วนร่วมของประชาชนคือ ท้า

              ให้ประชาชนมีความรู้ทั งในส่วนของเนื อหาโครงการและกระบวนการตัดสินใจของรัฐ รวมทั งเป็นการฝึกอบรม

              ผู้น้า และท้าให้ประชาชนได้เรียนรู้ทักษะการท้างานร่วมกันเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพในอนาคต


                         จึงกล่าวได้ว่าประโยชน์ของการมีส่วนร่วมในชุมชนต้องอาศัยประชาชนทุกคนในชุมชน เพราะ

              หมายถึงพลังที่จะสานต่อสิ่งที่กระท้าให้ประสบผลส้าเร็จ โดยประชาชนในชุมชนนั นตระหนัก ร่วมมือท้า
              ไปด้วยกัน และที่ส้าคัญสิ่งที่กระท้าในกิจกรรมหรือโครงการนั นทุกคนได้รับผลจากการท้าร่วมกัน



                     2.1.4 เงื่อนไขพื นฐานหรือปัจจัยพื นฐานของการมีส่วนร่วมของประชาชน


                         วันชัย วัฒนศัพท์  ถวิลวดี บุรีกุล และเมธิศา พงษ์ศักดิ์ศรี (2551 : 16) ได้น้าเสนอเงื่อนไขพื นฐาน

              ของการมีส่วนร่วมของประชาชนไว้ 3 ประการ คือ

                            1) การมีอิสรภาพในการเข้าร่วม หมายถึง การเข้าร่วมต้องเป็นไปด้วยความสมัครใจ

                            2) ความเสมอภาคในการเข้าร่วมกิจกรรม หมายถึง ทุกคนที่เข้าร่วมต้องมีสิทธิเท่าเทียมกัน

                            3) ผู้เข้าร่วมต้องมีความสามารถพอที่จะเข้าร่วมกิจกรรม หมายถึง มีความเข้าใจในเรื่องนั นๆ

              แต่หากกิจกรรมที่ก้าหนดไว้มีความซับซ้อนเกินความสามารถของกลุ่มเป้าหมาย ก็จะต้องมีการพัฒนาศักยภาพ

              ให้พวกเขาสามารถเข้ามามีส่วนร่วมได้
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30