Page 49 - kpi20902
P. 49

48



                                  เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้


                                  มีกิจกรรมบนพื นฐานของกระบวนการกลุ่มและพื นฐานของการเรียนรู้ร่วมกัน
                                  มีเครือข่ายและการติดต่อสื่อสารและให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการท้าความเข้าใจต่อ


              องค์ประกอบที่ส้าคัญของประชาสังคม อันได้แก่

                                     การมีวิสัยทัศน์ร่วมกันของสมาชิกกลุ่ม

                                     การมีส่วนร่วมของสมาชิกอย่างกว้างขวาง


                                     การมีความรัก ความเอื ออาทรต่อกัน

                                     การมีองค์ความรู้และความสามารถ รวมทั งวิธีการใหม่ๆ ในการแสวงหาความรู้

                                     มีการเรียนรู้และเครือข่ายการเรียนรู้ ซึ่งประสานกันอย่างเป็นระบบภายใต้การ

              จัดการที่มีประสิทธิภาพ

                            ส้าหรับแนวคิดชุมชนประชาสังคมดังกล่าว ในสังคมไทยได้มีการกล่าวถึงและให้ความส้าคัญ


              ไม่กี่ปีมานี่เอง ซึ่งเป็นจุดเชื่อมโยงหรือกระบวนการหนึ่งในการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนท้องถิ่น ซึ่งมีอยู่
              เป็นจ้านวนมากในสังคมไทย แต่ในทางปฏิบัติภาคประชาสังคมกลับไม่ค่อยมีบทบาทที่โดดเด่นมากนัก


              เนื่องจากรัฐเองก็ขาดการสนับสนุนอย่างเต็มรูปแบบเนื่องจากเป็นเรื่องของการถ่วงดุลอ้านาจในการปกครอง
              ซึ่งรัฐไม่อยากถ่ายโอนไปสู่ชุมชนมากนัก พิจารณาได้จากพระราชบัญญัติการกระจายอ้านาจให้องค์กรปกครอง


              ส่วนท้องถิ่นซึ่งมีการจัดท้าในช่วงปี 2542 ที่เน้นการกระจายอ้านาจจากส่วนกลางไปสู่ท้องถิ่นเกือบทั งหมด

              และมีก้าหนดในหมวดที่ 4  แผนการกระจายอ้านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรา 30 สรุปความ
                                    20
              ว่าจะต้องด้าเนินการให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลา 4 ปี หลังจากมีพระราชบัญญัติฉบับนี  แต่ในความเป็นจริง

              ก็ไม่สามารถด้าเนินการได้ส้าเร็จ จนกระทั่งถึงปัจจุบันเป็นปรากฏการณ์สะท้อนถึงการสร้างความเท่าเทียม

              เพื่อจะแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล ้าในสังคมไทย จึงเป็นมายาคติที่ยังขาดการน้าไปปฏิบัติอย่างจริงจังใน

              สังคมไทย  ทั งนี อาจจะเกิดจากข้อจ้ากัดอื่นนอกเหนือจากการที่รัฐไม่สามารถสร้างชุมชนประชาสังคม

              ให้เข้มแข็งได้ เพราะข้อจ้ากัดของระยะทางและพื นที่ก็เป็นปัจจัยส่วนที่ส้าคัญประการหนึ่งเช่นกัน จนน้าไปสู่

              ลักษณะของชุมชนแบบใหม่ Virtual Community Perspective ขึ นมาโดยอาศัยระบบเทคโนโลยีสาระสนเทศ

              เป็นตัวเชื่อมโยงให้เกิดชุมชนในลักษณะใหม่นี






                     20  พระราชบัญญัติก้าหนดแผนและขั นตอนการกระจายอ้านาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542, หมวดที่

              4, (ออนไลน์) แหล่งที่มา http://www.phichitpao.go.th/picture/ml2-5/ml2-5-2.pdf
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54