Page 48 - kpi20902
P. 48
47
(Partnership) ในการกระท้าบางอย่าง ทั งนี ด้วยความรักและความเอื ออาทรต่อกันภายใต้ระบบการจัดการ
ให้เกิดความรู้สึกร่วมกันเพื่อประโยชน์สาธารณะ ประชาสังคมจะก่อให้เกิด “อ้านาจที่สาม” นอกเหนือจาก
อ้านาจรัฐและอ้านาจธุรกิจ อ้านาจที่สามนี อาจไม่ต้องการคนจ้านวนมาก แต่เป็นกลุ่มเล็กน้อยกระจัดกระจาย
และอาจมีความเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายย่อยๆ (Civic Network) การรวมตัวกันนั น อาจไม่ต้องอยู่ใกล้ชิดกัน
แต่สามารถสื่อสารกันได้ เกิดเป็นองค์กรขึ น (Civic Organization) ซึ่งอาจเป็นองค์กรทางการ (นิติบุคคล)
หรือไม่เป็นทางการก็ได้
17
16
ธีรยุทธ บุญมี และ อเนก เหล่าธรรมทัศน์ เชื่อว่าการแก้ไขปัญหาสังคมนั น ควรให้ความ
ส้าคัญกับพลังที่สามหรือพลังสังคมที่เกิดจากการรวมตัวของประชาชนในทุกภาคส่วนของสังคม
ชูชัย ศุภวงศ์ ให้ความหมายของประชาสังคมว่า คือการที่ผู้คนในทุกภาคส่วนของสังคม
18
เห็นวิกฤตการณ์หรือสภาพปัญหาของสังคมที่สลับซับซ้อนยากต่อการแก้ไข จึงมารวมตัวกันเป็นกลุ่มประชาคม
(Civil Group) และน้าไปสู่การก่อจิตส้านึกร่วมกัน (Civil Consciousness) เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาหรือกระท้า
การบางอย่างเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ ทั งนี การรวมกลุ่มจะเป็นไปด้วยความรักความสมานฉันท์ การเอื ออาทร
ต่อกันภายใต้ระบบการจัดการโดยมีการเชื่อมโยงเป็นเครือข่าย
อนุชาติ พวงส้าลี และ วีรบูรณ์ วิสารทสกุล ให้ความหมายของชุมชน-ประชาสังคมว่า
19
หมายถึงชุมชนแห่งส้านึก (Conscious Community) ที่สมาชิกต่างเป็นส่วนหนึ่งของระบบโดยรวม และมี
ความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันทุกระดับอย่างเหนียวแน่น ด้วยระบบคุณค่าและวัตถุประสงค์ร่วมกัน ชุมชน-ประชา
สังคมอาจมีขนาดและลักษณะที่แตกต่างกันออกไป แต่มีลักษณะเป็นพลวัตที่บุคคลหรือกลุ่มต่างมีส่วนร่วม
ในการตัดสินใจและกระท้ากิจกรรมทางสังคมที่สนใจนักวิชาการทั งสองท่านได้ให้ความหมายของลักษณะของ
ประชาสังคมว่า
มีความหลากหลายทั งในรูปแบบของการรวมตัว พื นที่ รูปแบบของกิจกรรม ประเด็น
ของความสนใจปัญหา
มีความเป็นชุมชนที่อาจจะมีขนาดใหญ่หรือเล็กก็ได้
ประกอบด้วยจิตส้านึกสาธารณะ (Public Consciousness)
16 ธีรยุทธ บุญมี, ประชาสังคม Civil Society, พิมพ์ครั งที่ 1, กรุงเทพมหานคร: ส้านักพิมพ์สายธาร, 2547
17 อเนก เหล่าธรรมทัศน์, การเมืองของพลเมือง, กรุงเทพฯ: ส้านักพิมพ์คบไฟ. 2007.
18 ชูชัย ศุภวงศ์, ประชาคม: ทรรศนะนักคิดในสังคมไทย, กรุงเทพฯ: ส้านักพิมพ์มติชน, 2540.
19 อนุชาติ พวงส้าลี และวีรบูรณ์ วิสารทสกุล, ประชาสังคม: ค้า ความคิดและความหมาย, กรุงเทพมหานคร:
สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา, 2541.