Page 34 - kpi20902
P. 34

33



                 ประชากร 8.4 ลานคน (คนจน) ที่ไดรับอาหารและสินคาอื่นๆ ที่เปนสิ่งจ้าเปนพื นฐานในปริมาณที่ไมเพียงพอ

                 ตอการด้ารงชีวิตซึ่งมีมาตรฐานการด้ารงชีวิตที่แยที่สุดในสังคมไทย


                            3) ความเหลื่อมล ้าดานการเข้าถึงแหล่งทุน พบว่า ครัวเรือนที่มีสถานะทางเศรษฐกิจต่้าสุด

                 มีการกู้ยืมมากที่สุดคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 56.25 ขณะที่ครัวเรือนสถานะทางเศรษฐกิจดีสุดมีการกู้ยืมเงิน

                 คิดเป็นร้อยละ 49.72 โดยร้อยละ 95.51 ของมูลค่าหนี ของครัวเรือนที่มีสถานะทางเศรษฐกิจต่้าสุดเป็นการกู้

                 ในระบบ อีกร้อยละ 4.49 ของมูลค่าหนี เป็นการกู้นอกระบบ ครัวเรือนที่มีสถานะทางเศรษฐกิจต่้าสุดส่วนใหญ่

                 กู้ในระบบเพื่อท้าการเกษตร คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 46.75 ของมูลค่าหนี  รองลงมาเป็นการกู้เพื่ออุปโภคบริโภค

                 ร้อยละ 32.06 ขณะที่ครัวเรือนที่มีสถานะทางเศรษฐกิจดีที่สุด มีการกู้ยืมในระบบเพื่อใช้ซื อ/เช่าซื อบ้านและ/

                 หรือที่ดิน คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 49.38 ของมูลค่าหนี  รองลงมาเป็นการกู้ในระบบเพื่ออุปโภคบริโภคคิดเป็น

                 สัดส่วนร้อยละ 38.27 ของมูลค่าหนี   ทั งนี หนี โดยเฉลี่ยของครัวเรือนที่มีสถานะทางเศรษฐกิจต่้าสุดคือ 106,442

                 บาท ขณะที่ครัวเรือนที่มีสถานะทางเศรษฐกิจดีสุด มีหนี ถึง 920,176 บาท  อย่างไรก็ตามหากพิจารณาจาก

                 ภาระหนี ของครัวเรือนคิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้ พบว่า ครัวเรือนที่มีสถานะทางเศรษฐกิจต่้าสุด มีภาระในการ

                 ช้าระหนี คิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้ ถึงร้อยละ 54.78 สูงกว่าครัวเรือนในกลุ่มอื่น ถึง 2 เท่า สะท้อนให้เห็นว่า

                 ครัวเรือนที่มีสถานะทางเศรษฐกิจต่้ามีโอกาสในการเข้าถึงแหล่งทุน แต่การกู้ยืมก่อให้เกิดเป็นภาระทางการเงิน

                 ต่อครัวเรือนที่มีสถานะทางเศรษฐกิจต่้าอย่างมาก อย่างไรก็ดีรายจ่ายเพื่อการช้าระหนี ต่อรายได้ของครัวเรือน

                 ที่มีสถานะทางเศรษฐกิจต่้าที่สุดมีสัดส่วนลดลงจากปี 2558 ที่มีสัดส่วนถึงร้อยละ 62.65 ต่อรายได้ครัวเรือน


                            4) ความเหลื่อมล ้าดานการถือครองที่ดิน ประเทศไทยมีความเหลื่อมล ้าในการถือครองที่ดิน

                 สูงมาก กลาวคือ ที่ดินที่มีเอกสารสิทธิกระจุกตัวอยูในคนกลุมเล็กๆ จากข้อมูลการส้ารวจภาวะเศรษฐกิจและ

                 สังคมในปี 2560 พบว่า การกระจายการถือครองที่ดินของครัวเรือนที่ท้าการเกษตรในประเทศไทยในปี 2560

                 พบว่า มีครัวเรือนที่ถือครองที่ดินระหว่าง 10-19 ไร่มากที่สุดประมาณร้อยละ 27.6 ขณะที่ครัวเรือนเพียง

                 ร้อยละ 9.0 ถือครองที่ดินมากกว่า 40 ไร่/ครัวเรือน  นอกจากนี ยังมีครัวเรือนที่ไม่มีที่ดินท้ากินเป็นของตนเอง

                 ถึงร้อยละ 16.2 เมื่อจ้าแนกการถือครองที่ดินแยกตามภูมิภาค พบว่า ภาคเหนือมีจ้านวนครัวเรือนท้าการ

                 เกษตรที่ไม่มีที่ดินสูงที่สุด เป็นจ้านวน 207,700 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 47.02 และภาคใต้มีจ้านวนครัวเรือน

                 ท้าการเกษตรที่ไม่มีที่ดินน้อยที่สุด เป็นจ้านวน 29,794 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ 6.76

                            5) ความเหลื่อมล ้าดานการศึกษา  โอกาสในการเข้าถึงระบบการศึกษาของประเทศไทยตามช่วง


                 วัยตลอดระยะเวลาเกือบ 10 ปีที่ผ่านมา มีแนวโน้มเพิ่มขึ นในทุกระดับ โดยอัตราการเขาเรียนสุทธิระดับอนุบาล
                 ปี 2560 อยู่ที่ร้อยละ 75.7 เพิ่มขึ นกว่าร้อยละ 10 เมื่อเทียบกับปี 2552 ระดับประถมศึกษารอยละ 88.3


                 มัธยมตนรอยละ 68.2 มัธยมปลายรวมกับ ปวช. รอยละ 57.8 และปริญญาตรีรวม ปวส. รอยละ 29.1 รวมทั ง
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39