Page 35 - kpi20902
P. 35
34
โอกาสในการเขาถึงบริการดานการศึกษามีความแตกตางกันมากระหวางกลุมประชากรที่มีฐานะความเปนอยู
แตกตางกันระหวางเขตเมือง-ชนบท และระหวางภูมิภาค มีสัดส่วนที่ลดลง โดยเฉพาะการศึกษาในระดับ
ปริญญาตรี กรุงเทพมหานครมีสัดส่วนการเข้าเรียนสูงกว่าภาคอื่นๆ อยู่ที่ร้อยละ 43.8 ซึ่งเป็นการกระจุกตัว
ของสถาบันอุดมศึกษาทั งภาครัฐและเอกชนที่มีจ้านวนมากถึง 65 แห่ง ในขณะที่ภาคใต้มีอัตราการเรียนต่อ
ในระดับปริญญาตรีต่้าที่สุด อยู่ที่ร้อยละ 18.2
6) ความเหลื่อมล ้าด้านสาธารณสุข ซึ่งเป็นความเหลื่อมล ้าที่ส้าคัญเนื่องจากเกี่ยวกับปัญหา
สุขภาพของคนไทยโดยตรง โดยเน้นไปที่การเข้าถึงระบบประกันสุขภาพ พบว่า คนไทยเข้าถึงหลักประกัน
สุขภาพอย่างทั่วถึงคิดเป็นร้อยละ 99.95 คงที่จากปี 2559 โดยประชาชนส่วนใหญ่ใช้บริการภายใต้ระบบ
หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า จ้านวน 48.1 ล้านคน (72.8%) ลดลงจากร้อยละ 73.44 ในปี 2559 รองลงมาคือ
ระบบประกันสังคมจ้านวน 11.8 ล้านคน (18%) และระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ
จ้านวน 4.9 ล้านคน (7.5%) นอกจากนี ยังมีบุคคลที่ใช้สิทธิอื่นๆ อีกประมาณ 4.98 แสนคน แต่ยังมีบุคคล
ที่ยังไม่ลงทะเบียนสถานะสิทธิอีกจ้านวน 33,110 คน อย่างไรก็ตามการลดลงของผู้เข้าถึงหลักประกันสุขภาพ
ถ้วนหน้า ไม่ได้สะท้อนว่าคนมีการเข้าถึงบริการด้านสาธารณสุขที่ลดลง เนื่องจากเมื่อพิจารณาสิทธิประกัน-
สังคมซึ่งเป็นระบบประกันสุขภาพส้าหรับลูกจ้างภาคธุรกิจ/เอกชน (มาตรา 33 และ 39) พบว่า มีผู้ใช้สิทธิ์
เพิ่มขึ นต่อเนื่องจากร้อยละ 15.6 ในปี 2553 เป็นร้อยละ 17.7 ในปี 2559 จนถึงร้อยละ 18 ในปี 2560 ซึ่ง
ท้าให้ประชาชนได้รับสวัสดิการเพิ่มขึ น และยังได้สวัสดิการเพิ่มเติมนอกเหนือจากระบบหลักประกันสุขภาพ
ถ้วนหน้า เช่น เงินชดเชยกรณีที่ขาดรายได้ เป็นต้น
7) ความเหลื่อมล ้าด้านสวัสดิการสังคม ซึ่งสังคมไทยก้าลังจะก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ในขณะที่
รัฐบาลปัจจุบัน เน้นการให้สวัสดิการกับแม่และเด็กที่คลอดบุตรใหม่ๆ นับเป็นภาระที่ค่อนข้างหนักของรัฐบาล
ในการที่จะจัดสรรงบประมาณให้เกิดความเป็นธรรม ในขณะที่เป็นการสร้างภาระให้กับงบประมาณประเทศ
เป็นอย่างมาก โดยในปัจจุบันระบบสวัสดิการสังคมของไทยมีพัฒนาการที่ดีขึ นอย่างต่อเนื่อง โดยรัฐได้จัด
สวัสดิการให้มีความครอบคลุมกลุ่มที่ต้องการการดูแลเป็นพิเศษ ได้แก่ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และกลุ่มเด็กที่เกิด
ในครอบครัวยากจน ซึ่งในส่วนนี จะน้าเสนอสถิติและข้อมูลเกี่ยวกับการเข้าถึงนโยบายของรัฐของกลุ่มดังกล่าว
ภายใต้โครงการเบี ยยังชีพผู้สูงอายุและผู้พิการ และโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี ยงดูเด็กแรกเกิด โดยในปี
2560 พบว่า ผู้สูงอายุที่ต้องได้รับเบี ยยังชีพเพิ่มขึ นอย่างต่อเนื่องโดยคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 91.76 เพิ่มขึ นจาก
ปี 2559 ที่มีสัดส่วนร้อยละ 91.50 โดยอัตราส่วนคนยากจนในเขตชนบทที่ได้รับเบี ยยังชีพมีอัตราสูงกว่า
เล็กน้อยที่ร้อยละ 92.17 เทียบกับร้อยละ 91.20 ผู้พิการได้รับเบี ยยังชีพเพิ่มขึ นอย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2560
มีผู้พิการที่ได้รับเบี ยยังชีพจ้านวน 1.49 ล้านคน โดยใช้งบประมาณทั งสิ น 14,322 ล้านบาท เพิ่มขึ นเมื่อเทียบ