Page 31 - kpi20902
P. 31
30
ที่เปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมทางการเมือง) และเพิ่มความสามารถในการบรรลุเป้าหมายที่คนแต่ละคนตั ง
(เช่น ด้วยการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ บริการสาธารณะ และบริการสาธารณสุข)
ระดับการลิดรอนสมรรถภาพของคนที่จะ “ใช้” อิสรภาพเหล่านี เป็นเครื่องวัด “ระดับความ
ยากจน” ได้ดีกว่าตัวเลขรายได้ เนื่องจากสามารถพูดถึงแง่มุมของ “ความยากจน” ที่ไม่แสดงในตัวเลขรายได้
ยกตัวอย่าง เช่น สหรัฐอเมริกามีรายได้ประชากรต่อหัวสูงกว่ายุโรปก็จริง แต่มีอัตราการเข้าถึงระบบสาธารณสุข
แย่กว่า ส่วนอินเดียมีรายได้ต่อหัวไม่ต่างจากกลุ่มประเทศทางตอนใต้ของทะเลทรายซาฮาราในทวีปแอฟริกา
3
เท่าไรนัก แต่อินเดียมีอัตราการรู้หนังสือและอัตราการตายของทารกแรกเกิดต่้ากว่ามาก
จากแนวคิดความเหลื่อมล ้าดังกล่าว สามารถกล่าวได้ว่าการจะสร้างความเท่าเทียมให้เกิดขึ น
ได้จ้าเป็นต้องอาศัยความเป็นอิสระ ความยุติธรรม และความเชื่อในศักยภาพของความเป็นมนุษย์ เป็นฐาน
ของการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล ้า จากลักษณะของแนวคิดดังกล่าวน้าไปสู่การแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล ้า
ของชุมชนบ้านหนองสาหร่าย คือ ความเป็นอิสระในการแสดงความคิดเห็นร่วมกัน เรียกร้องในสิ่งที่เป็น
ประโยชน์ส่วนรวมร่วมกัน เพื่อแจกแจงผลประโยชน์ที่จะเกิดขึ นให้กับผู้ที่อาศัยอยู่ในชุมชน เชื่อในศักยภาพ
ของคนในชุมชน เมื่อชุมชนเกิดการรวมตัวย่อมเกิดความเข้มแข็งและสามารถบริหารจัดการตนเองได้
โดยไม่จ้าเป็นต้องพึ่งพิงภายนอกมากจนเกินไป น้าไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนอย่างเป็นรูปธรรมได้ในที่สุด
2.1.3 มิติต่างๆ ของความเหลื่อมล ้า
การน้าเสนอมิติต่างๆ ของความเหลื่อมล ้าหรือความไม่เท่าเทียมกันในสังคมไทย สามารถแบ่ง
ออกเป็นกลุ่มๆ หลักๆ ที่ปรากฏผลขึ นชัดเจนจนกล่าวได้กว่าเป็นผลที่สามารถส่งผลไปกระทบจนท้าให้เกิด
ความเหลื่อมล ้าในด้านอื่นๆ หรือมิติอื่นได้อีก ดังนี
1) ความเหลื่อมล ้ามิติด้านการเมือง (political inequality) หมายถึง สถานภาพในทางการเมือง
การปกครอง มีทั ง “ผู้มีอ้านาจในการปกครอง” และ “ผู้อยู่ภายใต้อ้านาจการปกครอง” ความเหลื่อมล ้า
ด้านการเมืองมองในมิติของความแตกต่างระหว่างกลุ่มคน 2 กลุ่ม หลักคือ กลุ่มผู้ปกครอง และกลุ่มผู้ถูก
ปกครองซึ่งในปัจจุบันสถานการณ์ของความเหลื่อมล ้านับวันจะยิ่งทวีความแตกต่างเพิ่มมากขึ น เช่น การเมือง
ถูกสมมติให้เป็นหน้าที่ของชนชั นน้า กลุ่มนายทุน หรือแม้จนกระทั่งกลุ่มคนมีอ้านาจในท้องถิ่น ในขณะที่
ชาวบ้านหรือประชาชนทั่วไปถูกผลักออกไปให้อยู่ในฐานะผู้ฟัง ผู้ตามหรือผู้ที่จะต้องท้าตามค้าสั่งเท่านั น
ไม่มีสิทธิ หรืออ้านาจในการเรียกร้อง เพื่อจะเข้าถึงสิทธิที่จะพึงมีพึงได้ นั นก็เป็นปรากฏการณ์อย่างหนึ่ง
ที่สะท้อนถึงระบบอ้านาจนิยม หรือระบบอุปถัมภ์ ในสังคมไทยได้เป็นอย่างดี ท้าให้เกิดระบบการพึ่งพาผู้มี
อ้านาจเพื่อจะมีโอกาสจะได้เข้าไปเป็นกลุ่มก้อนของผู้มีอ้านาจและสามารถใช้อ้านาจตามที่ตนเองต้องการได้
3 “เว็บความเหลื่อมล ้าฉบับพกพา” (ออนไลน์), แหล่งที่มา, www.thai-inequality.org