Page 33 - kpi20902
P. 33
32
2.1.4 สถานการณ์ความเหลื่อมล ้า
ปญหาความเหลื่อมล ้าในสังคมไทยที่สะสมมานานมาก ซึ่งสามารถเกิดได้จากปจจัยหลายอย่าง
เข้ามาเกี่ยวของและที่ปรากฏชัดเจน คือ ชองวางทางรายได Quintile by Income) ระหวางคนในกลุมชนชั น
รายไดตางๆ โดยจากการศึกษารายงานการวิเคราะหสถานการณความยากจนและความเหลื่อมล ้าในประเทศ
ไทย ป ของส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ พบวา
1) ความเหลื่อมล ้าดานรายไดหรือการกระจายรายได ของประเทศไทยยังอยู่ในระดับสูง
สะทอนจากคาสัมประสิทธิ์ความไมเสมอภาคดานรายได Gini coefficient) อยู่ในระดับ 0.453 ในปี 2560
เพิ่มขึ นจากปี 2558 ที่ 0.445 และรายไดกระจุกตัวอยูกับคนกลุมเล็กๆ โดยเฉพาะกลุมคนรวยที่สุดรอยละ 10
ถือครองรายไดถึงรอยละ 35.29 ของรายไดทั งหมดของประเทศ ในขณะที่กลุมคนจนที่สุดรอยละ 10 ถือครอง
รายไดเพียงรอยละ 1.83 ของรายไดทั งหมดเทานั น จึงท้าใหความแตกตางของรายไดระหวางกลุมคนรวยที่สุด
กับกลุมคนจนที่สุดหางกันถึง 19.29 เทา นับว่ามีความแตกต่างในระดับสูงเมื่อเทียบกับประเทศในกลุ่ม OECD
ซึ่งมีความแตกต่างเพียง 8.52 เท่าและมีค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาคเพียง 0.32
2) ความเหลื่อมล ้าดานรายจายเพื่อการอุปโภคบริโภค ของประเทศไทยค่าสัมประสิทธิ์จินี
ด้านรายจ่ายเพื่อการบริโภคมีแนวโน้มลดลงในทิศทางเดียวกับด้านรายได้ โดยลดลงจาก 0.439 ในปี 2531
เหลือ 0.364 ในปี 2560 โดยกลุมประชากรรอยละ 10 ที่มีการใช้ อย่างไรก็ดีค่าสัมประสิทธิ์จินีด้านรายจ่าย
จะมีค่าต่้ากว่ารายได้ในช่วงประมาณ 0.04-0.1 ในระยะ 30 ปีที่ผ่านมา และเมื่อพิจารณาความเหลื่อมล ้าด้าน
รายจ่ายเพื่อการบริโภคจ้าแนกตามกลุ่มประชากร 10 กลุ่ม (Decile by expenditure) พบว่า ในปี 2560 กลุ่ม
ประชากรที่มีรายจ่ายเพื่อการบริโภคต่้าที่สุด มีสัดส่วนรายจ่ายที่ร้อยละ 3.02 ของรายจ่ายรวมทั งประเทศลดลง
เล็กน้อยจากปี 2559 ที่มีสัดส่วนรายจ่ายที่ร้อยละ 3.04 ขณะที่กลุ่มประชากรที่มีรายจ่ายสูงที่สุดมีสัดส่วน
รายจ่ายร้อยละ 28.18 ในปี 2560 ลดลงจากปี 2559 เช่นกัน โดยกลุ่มประชากรที่มีส่วนแบ่งรายจ่ายเพิ่มขึ น
คือกลุ่มที่ 4-8 นอกจากนี เป็นที่น่าสังเกตว่ากลุ่มประชากรร้อยละ 40-70 (decile 4 – 7) เป็นกลุ่มที่มีสัดส่วน
รายได้ลดลง ตรงข้ามกับสัดส่วนการบริโภคที่เพิ่มขึ น สะท้อนพฤติกรรมการบริโภคที่อาจท้าให้คนกลุ่มนี มี
การออมที่ลดลงเมื่อพิจารณาโครงสร้างรายได้ของครัวเรือนโดยเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มคนร้อยละ 10
ที่ยากจน (decile 1) และกลุ่มคนร้อยละ 10 ที่รวยที่สุด (decile 10) พบว่า ทั ง 2 กลุ่มมีรายได้หลักมาจาก
ค่าจ้าง/เงินเดือน และก้าไรจากการเกษตร อย่างไรก็ดี กลุ่มคนร้อยละ 10 ที่ยากจน (decile 1) ยังต้องพึ่งพา
เงินช่วยเหลือจากบุคคลอื่น เงินสงเคราะห์ผู้พิการ และเบี ยยังชีพผู้สูงอายุคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 38.4 ขณะที่
กลุ่มคนร้อยละ 10 ที่รวยที่สุด (decile 10) มีสัดส่วนรายได้อันดับสองคือก้าไรจากการท้าธุรกิจที่ร้อยละ 26.1
ชี ให้เห็นว่าคนยากจนยังต้องพึ่งพาเงินอุดหนุนจากทั งภาครัฐ และคนอื่นภายในครัวเรือนเอง นอกจากนี ยังมี