Page 37 - kpi20902
P. 37
36
จนละเลยปัญหาสิ่งแวดล้อม แต่ได้รับการควบคุมและแก้ไขปัญหาในภายหลัง ซึ่งสาเหตุต่างๆ เหล่านี ได้
ก่อให้เกิดปัญหาและซ ้าเติมคนยากจนมากขึ น การเป็นคนมีฐานะทางเศรษฐกิจที่ต่้า ก็มักจะมีโอกาสด้านอื่นๆ
ต่้ากว่าบุคคลที่มีฐานะทางเศรษฐกิจที่สูง กล่าวคือ โอกาสทางการเมือง ทางการศึกษา ทางด้านสุขภาพ
การเข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติ และที่เป็นสิ่งเลวร้ายมากก็คือ โอกาสในการได้รับความเป็นธรรมจาก
กระบวนการยุติธรรมกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมเป็นเสมือนที่พึ่งและความหวังของผู้ถูกกระทบสิทธิ
จากการกระท้าอันฝ่าฝืนกฎหมายของผู้อื่น กฎหมายและกระบวนการยุติธรรมจึงเป็นเหมือนเกราะที่คอย
ปกป้องคุ้มครองสิทธิของมนุษย์ และเป็นสิทธิที่มนุษย์ควรได้รับโดยเสมอภาคเท่าเทียมกันไม่ขึ นอยู่กับความ
แตกต่างทางเพศ ชนชั น หรือฐานะ จากขอมูลที่บงชี สภาพปญหาในภาพรวมของประเทศและสถานการณความ
เหลื่อมล ้าที่กลาวถึงในตอนตน จะเห็นไดวาปญหาความเหลื่อมล ้ามีหลากหลายรูปแบบและมีความเกี่ยวเนื่อง
เชื่อมโยงระหวางกัน แตเมื่อพิจารณาถึงปจจัยเชิงโครงสรางอันเปนสาเหตุของปญหาความเหลื่อมล ้า
(ส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2557) พบวา มาจาก 5 สาเหตุส้าคัญ ดังนี
1) โครงสรางทางเศรษฐกิจไทย เอื อประโยชนตอกลุมเจาของทุนมากกวาเจาของแรงงาน กลาวคือ
ผลประโยชนจากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่มาจากฐานการสงออกสินคาอุตสาหกรรมเปนส้าคัญ
ผลตอบแทนของทุนจึงเปนของผูประกอบการโดยสวนใหญ และในชวงที่ผานมานั นรายไดที่เปนคาตอบแทน
แรงงานและสวัสดิการคิดเปนสัดสวนเฉลี่ยเพียงรอยละ 37.4 ของ GDP ในขณะที่รายไดในสวนผลตอบแทน
ของทุนและผูประกอบการคิดเปนสัดสวนประมาณรอยละ 59.7 ของ GDP จึงกลายเปนชองวางระหวางชนชั น
รายได้และระหวางสาขาการผลิต นอกจากนั นโครงสรางการผลิตที่มีแรงงานนอกระบบในสัดสวนสูงถึงรอยละ
62.6 ซึ่งเปนกลุมที่ขาดหลักประกันทางสังคมการเขาถึงสวัสดิการสังคมยังมีจ้ากัด
2) โครงสรางการบริหารจัดการภาครัฐมีลักษณะรวมศูนยไวที่สวนกลาง และโครงสรางบริการ
พื นฐานของรัฐกระจุกตัวอยูในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล รวมทั งหัวเมืองใหญตางๆ ในภูมิภาคไดสง
ผลกระทบตอความเหลื่อมล ้าในการเขาถึงบริการพื นฐานของรัฐในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพระหวาง
ประชากรในเขตเมืองและเขตชนบท และประชากรในแตละภูมิภาค บริการพื นฐานของรัฐทั งบริการดาน
การศึกษาและการพัฒนาทักษะฝมือ ดานสาธารณสุข และโครงสรางพื นฐานตางๆ สวนใหญมีการกระจุก
ตัวหนาแนนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลรวมทั งเมืองใหญตางๆ
3) ปญหาระบบกรรมสิทธิ์ที่ดิน ที่ดินเปนปจจัยพื นฐานส้าคัญส้าหรับการประกอบอาชีพและความ
มั่นคงในการด้ารงชีวิต ปญหากรรมสิทธิ์ที่ดินจึงมีความเชื่อมโยงกับปญหาความยากจนและความเหลื่อมล ้า
ในโอกาสทางเศรษฐกิจ ปจจุบันมีปญหาตางๆ ในการใชประโยชนที่ดิน เชน ปญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ
ปญหาที่ดินรกรางวางเปลาหรือใชประโยชนไมเต็มที่ ปญหาความขัดแยงในการใชประโยชนที่ดินระหวาง