Page 36 - kpi20902
P. 36
35
กับจ้านวน 1.41 ล้านคน และ งบประมาณ 13,512 ล้านบาทในปี 2559 ตามล้าดับ และเมื่อพิจารณาการ
เข้าถึงเบี ยยังชีพของผู้พิการจากข้อมูลการส้ารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนปี 2560 พบว่า ผู้พิการ
ร้อยละ 66.29 ได้รับเบี ยยังชีพ โดยผู้พิการที่ยากจนได้รับเบี ยยังชีพคิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 73.84 ขณะที่ผู้พิการ
ที่ไม่ยากจนได้รับเบี ยยังชีพ 64.91 เด็กแรกเกิดในครัวเรือนที่ยากจนได้รับการดูแลเป็นจ้านวนมากขึ น
จากโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี ยงดูเด็กแรกเกิด โดยในปีงบประมาณ 2560 มีจ้านวนผู้ลงทะเบียนขอใช้
สิทธิจ้านวน 223,176 คน เพิ่มขึ นจากปีงบประมาณ 2559 ซึ่งมีผู้มาลงทะเบียน 210,930 คน ทั งนี โครงการ
อุดหนุนเพื่อการเลี ยงดูเด็กแรกเกิดเป็นโครงการที่ช่วยเหลือให้ครอบครัวที่ยากจนที่มีบุตร โดยผู้มาลงทะเบียน
มักมีปัญหาเรื่องการว่างงาน เป็นแม่เลี ยงเดี่ยว แม่วัยใส ประสบปัญหาที่อยู่อาศัย เป็นต้น โดยอายุเด็กแรกเกิด
ถึง 3 ปี จะได้รับเงินอุดหนุนต่อเดือนรายละ 600 บาท ดังนั น ความเหลื่อมล ้าด้านสวัสดิการสังคมจึงถือได้ว่า
4
ส่งผลกระทบกับครอบครัวซึ่งเป็นสถาบันเริ่มแรกของสังคมไทยอย่างมีนัยส้าคัญ
จากสถานการณ์ดังกล่าวจึงพอจะสรุปได้ว่า สถานการณ์ปัญหาความเหลื่อมล ้ามีแนวโน้มว่าจะ
สูงขึ นเรื่อยๆ และจากข้อมูลดังกล่าวยังพอจะสรุปได้อีกว่าจุดเริ่มต้นหรือเป็นต้นตอของความเหลื่อมล ้าที่ผ่านมา
โดยเฉพาะมุมมองของนักเศรษฐศาสตร์หรือนักพัฒนาต่างๆ ล้วนมีจุดเริ่มต้นจากปัญหาความเหลื่อมล ้าหรือ
ความไม่เท่าเทียมกันด้านเศรษฐกิจเกี่ยวข้องด้วยทั งสิ น
2.1.5 สาเหตุของความเหลื่อมล ้า
ความเหลื่อมล ้าที่ส่งผลให้เกิดความแตกต่างระหว่างคนรวยกับคนจน : ลักษณะเฉพาะของบุคคล
ที่ท้าให้เกิดความยากจนมีปัจจัยมาจากภายในของประชาชนเอง คือ การเป็นผู้มีความรู้น้อยซึ่งส่วนหนึ่ง
มีสาเหตุจากการขาดโอกาสด้านการศึกษา กล่าวคือ บุคคลที่เกิดมาในครอบครัวที่ยากจนก็มักจะขาดโอกาส
ในการศึกษาและพัฒนาทักษะด้านต่างๆ ยิ่งไม่มีความรู้ความสามารถก็ยิ่งได้งานที่ไม่ดี ไม่มีโอกาสเต็มที่ในการ
เลือกงาน และได้รับค่าจ้างต่้ากว่าคนที่มีการศึกษาสูงกว่า สาเหตุอื่นๆ ที่ส้าคัญอีกก็คือ การเป็นผู้มีปัญหาด้าน
สุขภาพ (เช่น เจ็บป่วย พิการ ฯลฯ) และการเป็นผู้มีทรัพย์สินหรือที่ดินท้ากินน้อย เป็นต้น
ส้าหรับปัจจัยภายนอกหรือการกระท้าของภาครัฐที่ท้าให้เกิดความเหลื่อมล ้า ได้แก่ นโยบาย
เศรษฐกิจของทางภาครัฐที่มีการออกนโยบายอุ้มคนรวย ส่งเสริมภาคอุตสาหกรรมหรือเน้นพัฒนาอุตสาหกรรม
มากกว่าภาคการเกษตร หรือนโยบายที่เน้นพัฒนาเมืองมากกว่าชนบท รวมไปถึงนโยบายด้านการจัดสรร
ทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่เป็นธรรม เช่น กรณีของมาบตาพุดที่มีการส่งเสริมการลงทุนด้านอุตสาหกรรมอย่างมาก
4 ส้านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, รายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ความยากจน
และความเหลื่อมล ้าในประเทศไทย ปี 2560, หน้า 15-29, (ออนไลน์) แหล่งที่มา http://www.nesdb.go.th