Page 29 - kpi20902
P. 29

28



                         2) ความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice)


                            นักคิดจ้านวนไม่น้อยมองว่าโครงสร้างสังคมทุกสังคมล้วนเป็นผลผลิตของความไม่เท่าเทียม

              และความอยุติธรรมในอดีตที่สะสมทับถมกันมานานหลายชั่วอายุคน นักเศรษฐศาสตร์ แพทริค ไดมอนด์

              (Patrick Diamond) และนักสังคมวิทยา แอนโธนี กิดเดนส์ (Anthony Giddens) มองว่าสังคมแบบ “คุณธรรม

              นิยมสมบูรณ์” (Pure Meritocracy) หมายถึง สังคมที่สมาชิกทุกคนเลื่อนฐานะได้ด้วยความสามารถของตนเอง

              ล้วนๆ ไม่ใช่ด้วยอภิสิทธิ์หรือเส้นสายใดๆ ที่ปราศจากการกระจายความมั่งคั่งไม่ใช่สังคมที่พึงปรารถนา

              เนื่องจากกลุ่มบุคคลที่ประสบความส้าเร็จในรุ่นของตัวเองจะกลายเป็น “ชนชั น” ที่ฝังรากลึกส้าหรับคนรุ่น

              ต่อไป เก็บความมั่งคั่งที่ตนสะสมเอาไว้เป็นทุนส้าหรับลูกหลาน เมื่อเป็นอย่างนี ลูกหลานของคนจนก็จะยิ่ง

              เสียเปรียบคนรวย และความเหลื่อมล ้าก็จะยิ่งถ่างกว้างขึ นเรื่อยๆ เพียงเพราะพวกเขาเกิดมาในครอบครัว

              ที่ยากจน นักคิดที่รณรงค์ความยุติธรรมทางสังคมมองว่านี่คือ ความอยุติธรรมทางสังคมที่ต้องหาทางบรรเทา

              หรือก้าจัดให้ได้มากที่สุด

                            นอกจากนี ยังมองว่าสังคมที่มีความเหลื่อมล ้าขยายกว้างขึ นเรื่อยๆ คือ สังคมที่ไม่มีความ


              ยุติธรรมแล้ว นักคิดส้านักนี ยังมองต่อไปอีกว่า ความมั่งคั่งและความก้าวหน้าทั งหลายที่เกิดขึ นในสังคมไม่ได้

              เกิดจากความสามารถของคนที่มีฐานะดีเพียงอย่างเดียว แต่ทุกคนในสังคมล้วนมีส่วนร่วมสร้างความมั่งคั่ง

              ดังกล่าวด้วยทั งสิ น ไม่ว่าเราจะมองเห็นหรือไม่ก็ตาม ยกตัวอย่างเช่น เศรษฐีขายหุ้นท้าก้าไรในตลาดหุ้นได้

              ก็เพราะระบบสารสนเทศของตลาดหุ้นมีไฟฟ้าใช้ ถ้าหากไฟฟ้านั นถูกส่งมาจากโรงไฟฟ้าพลังน ้า และถ้าหากการ

              ก่อสร้างเขื่อนส่งผลให้ครอบครัวชาวประมงนับหมื่นครัวเรือนต้องสูญเสียช่องทางท้ามาหากินเพราะหาปลา

              ไม่ได้อีกต่อไป ก็กล่าวได้ว่าเศรษฐีเป็น “หนี บุญคุณ” ชาวประมง

                            ด้วยเหตุนี  นักคิดอย่างไดมอนด์และกิดเดนส์จึงมองว่า สังคมต้องพยายามสร้างความยุติธรรม

              หรือบรรเทาความอยุติธรรมทางสังคมอย่างต่อเนื่อง ด้วยการกระจายรายได้และความมั่งคั่งให้ตกถึงมือ

              ประชาชนในวงกว้างที่สุด เพื่อ “ตอบแทนคนทุกภาคส่วนในสังคมที่มีส่วนสร้างความมั่งคั่ง” และดังนั นพวกเขา

              จึงมักจะสนับสนุนแนวคิด “รัฐสวัสดิการ” อย่างเต็มรูปแบบที่จัดสวัสดิการถ้วนหน้าให้กับประชาชนทุกคน

              ในฐานะ “สิทธิพลเมือง” ที่พึงได้รับผลอย่างเสมอภาค และไม่สนับสนุน “ระบบสวัสดิการ” ที่เอกชนมีบทบาท


              น้าและรัฐช่วยเหลือแต่เพียงผู้ที่ช่วยตัวเองไม่ได้จริงๆ ในกรอบคิดของส้านักเสรีนิยม
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34