Page 25 - kpi20902
P. 25

24



              นักวิชาการต่างๆ ในทุกศาสตร์ในสังคมไทยที่จะน้าไปสู่การแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล ้าและก่อให้เกิดการพัฒนา

              อย่างยั่งยืนได้


                     2.1.1 ความหมายของความเหลื่อมล ้า (inequality)

                         ค้าว่า “ความเหลื่อมล ้า” (Inequality)  มีการให้ความหมายไว้หลากหลายตามแนวทางการน้าไปใช้


              ของแต่ละบุคคลโดยมักจะมีเรื่องของอาชีพเป็นฐานคิดของการให้ความหมาย ค้าว่า “ความเหลื่อมล ้า” เช่น

                         Julie A. Litchfield (1999) นักเศรษฐศาสตร์ซึ่งเป็นนักวิชาการอาวุโส ของ University of Sussex

              Business School ซึ่งกล่าวถึงการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล ้าโดยกล่าวถึงแนวคิดของความยุติธรรมทางรายได้

              และการเข้าถึงสวัสดิการสังคม (social welfare) ในการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล ้า ศาสตราจารย์ Julie A.

              Litchfield ได้ให้ความหมาย ความเหลื่อมล ้า คือความไม่เท่าเทียมกันไว้ว่า หมายถึง ปรากฏการณ์ของความ

              แตกต่างที่เกิดขึ นกับคนแต่ละคนซึ่งไม่เท่ากัน เป็นข้อถกเถียงกันว่าความไม่เท่าเทียมควรห่อหุ้มด้วยแนวคิดทาง

              จริยธรรมด้วย เช่น ความพึงพอใจของระบบการให้รางวัลจะต้องไม่มีความแตกต่างกัน ความแตกต่างของรายได้

              ของแต่ละคนไม่แตกต่างกัน ดังนั น ความเหลื่อมล ้าจึงสามารถสรุปความหมายตามแนวคิดเศรษฐศาสตร์ได้ว่า

              การกระจายตัวอย่างยุติธรรมของรายได้ การบริโภคหรือสวัสดิการอื่นๆ ให้สอดคล้องกับตัวบ่งชี หรือคุณลักษณะ

              ของประชากร


                         Andrew Mckay (2002) อาจารย์และนักวิชาการด้านการพัฒนาเพื่อความเท่าเทียมกันแห่ง

              Overseas Development Institute and University of Nottingham ได้กล่าวถึงความสัมพันธ์ของความ

              เหลื่อมล ้ากับความยากจน  ความไม่เสมอภาคกับการเจริญเติบโตขึ นของคุณภาพชีวิตของคนในประเทศนั นๆ

              ความไม่เสมอภาคมีส่วนสร้างความเข้มแข็ง ความไม่เสมอภาคมักจะเกี่ยวกับการก่อให้เกิดอาชญากรรม และ

                                                                2
              ความไม่เสมอภาคส่งผลต่อความส้าเร็จของสหัสวรรษ (MDG)  นักวิชาการท่านนี ให้ความหมายความเหลื่อมล ้า
              ไว้ว่า ความไม่เท่าเทียมแตกต่างจากความยากจนแต่มันเกี่ยวข้องกัน ความไม่เสมอภาคก่อให้เกิดความแตกต่าง

              ของค่าครองชีพโดยรวมของประชากร ในทางตรงกันข้ามความยากจนมุ่งเน้นเฉพาะผู้ที่มีค่าครองชีพต่้ากว่า

              มาตรฐานหรือต่้ากว่าเกณฑ์ที่เหมาะสม (เช่นเส้นแบ่งความยากจน) ดังนั น ในมิติของการพัฒนา ความยากจน

              จึงมีความสัมพันธ์อย่างมากเกี่ยวกับความไม่เท่าเทียม จึงหมายถึง ความเป็นคนจนสะท้อนถึงภาพรวมของ

              สภาพความเป็นอยู่ของประชากรทั งหมดและระดับความไม่เท่าเทียมส่งผลกระทบต่อทั งแนวคิดของความ

              ยากจนและความไม่เสมอภาค






                     2
                       Andrew McKay, Defining and Measuring Inequality, Briefing Paper No 1 (1 of 3). March 2002.
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30