Page 27 - kpi20902
P. 27

26



              หรือคุณธรรมต่างๆ ไม่เท่ากัน การตัดสินว่าจะเชื่อหรือประยุกต์ใช้แนวคิดของส้านักคิดใดส้านักคิดหนึ่งจึงน่าจะ

              ตั งอยู่บนการประเมินผลได้และผลเสียของแต่ละแนวคิด เปรียบเทียบกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นจริง

              มากกว่าการใช้มาตรวัดทางศีลธรรมใดๆ ที่เป็นนามธรรมโดยไม่ค้านึงถึงสถานการณ์จริงไม่เท่ากันอยู่ที่การ

              น้าไปใช้ โดยสามารถสรุปแนวคิดของทั งสามส้านักที่เกี่ยวเนื่องกับความเหลื่อมล ้าได้ ดังนี


                         1) เสรีนิยม (liberalism)

                            นักเสรีนิยมสายคลาสสิก (Classical Liberal) และสายลิเบอทาเรียน (Libertarian) โดยทั่วไป


              จะไม่มีจุดยืนเกี่ยวกับความเหลื่อมล ้าทางเศรษฐกิจ เนื่องจากเชื่อว่ารัฐควรปล่อยให้มนุษย์ทุกคนมีเสรีภาพที่จะ
              ท้าอะไรๆ เอง เพราะมองว่าเสรีภาพของปัจเจกบุคคล คือ คุณค่าและคุณธรรมที่ส้าคัญที่สุด ความยุติธรรม


              ต้องอยู่บนพื นฐานของเสรีภาพ รัฐมีหน้าที่อ้านวยให้เกิด “ความเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย” โดยไม่ต้องสนใจ
              ว่าความเท่าเทียมดังกล่าวจะน้าไปสู่ความเหลื่อมล ้าทางเศรษฐกิจหรือไม่เพียงใด เนื่องจาก “กลไกตลาด”


              (ผลรวมของการกระท้าโดยเสรีของปัจเจก) คือ กลไกที่ดีที่สุดหรือมีข้อบกพร่องน้อยที่สุดแล้ว ในการสร้าง
              ประโยชน์สาธารณะ ลุดวิก วอน มิเซส (Ludwig von Mises) นักเศรษฐศาสตร์เสรีนิยมคลาสสิกผู้ทรงอิทธิพล


              เสนอในปี ค.ศ.1949 ว่านักเสรีนิยมที่รณรงค์ความเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมายนั น ตระหนักดีว่ามนุษย์เกิดมา

              ไม่เท่าเทียมกัน และความไม่เท่าเทียมกันนี เองที่เป็นบ่อเกิดของการร่วมมือกันทางสังคมและอารยธรรม

              ในความเห็นของพวกเขา ความเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมายไม่ได้ถูกออกแบบมาแก้ไขข้อเท็จจริงของจักรวาล

              ที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ หรือเพื่อก้าจัดความไม่เท่าเทียมตามธรรมชาติให้หมดสิ นไป แต่ในทางตรงกันข้ามความ

              เท่าเทียมกันภายใต้กฎหมายถูกออกแบบมาเป็นเครื่องมือที่จะรับประกันว่ามนุษยชาติทั งมวลจะได้รับประโยชน์

              สูงสุดจากความไม่เท่าเทียมดังกล่าว ...ความเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมายนั นดีเพราะมันตอบสนองความต้องการ

              ของทุกคนได้ดีที่สุด ปล่อยให้พลเมืองผู้มีสิทธิเลือกตั งตัดสินใจเองว่าใครควรด้ารงต้าแหน่งทางการเมือง และ

              ปล่อยให้ผู้บริโภคตัดสินใจเองว่าใครควรมีอ้านาจก้าหนดกิจกรรมการผลิต

                            โรเบิร์ต โนซิค (Robert Nozick) นักปรัชญาสายลิเบอทาเรียนผู้โด่งดัง มองว่าสังคมในอุดม

              คติ คือ สังคมที่มนุษย์ทุกคนมีเสรีภาพสมบูรณ์ ไม่มีใครถูกใครบังคับ ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ในเมื่อรัฐ

              กระจายความมั่งคั่งด้วยการบังคับ (โดยเฉพาะการจัดเก็บภาษี) โดยทั่วไปเขาจึงไม่เห็นด้วยกับมาตรการลด


              การเหลื่อมล ้าท้านองนี  แต่อย่างไรก็ตาม ถ้าความเหลื่อมล ้าทางเศรษฐกิจบางด้านในสังคมสมัยใหม่เกิดจากการ
              ใช้ก้าลังบังคับในอดีต (เช่น เจ้าขุนมูลนายในอดีตใช้ก้าลังทหารริบเอาที่ดินทั งหมดมาเป็นของตน) โนซิคก็เห็น


              ว่าการกระจายความมั่งคั่งกลับคืนด้วยอ้านาจรัฐ (เช่น ออกกฎหมายเพื่อกระจายที่ดินกลับไปอยู่ในมือลูกหลาน
              ของผู้ที่เคยถูกริบที่ดินท้ากินในอดีต) ก็เป็นสิ่งที่ยุติธรรมและมีความชอบธรรม แต่เฉพาะในกรณีแบบนี เท่านั น
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32