Page 87 - kpi20896
P. 87

86



                         งานวิจัยหลายชิ้นยืนยันผลว่าในกลุ่มประเทศที่มีรายได้สูงนั้นอัตราการว่างงานไม่มีผลกระทบ

              ต่อความเหลื่อมล้้า ในขณะที่กลุ่มประเทศที่รายได้ต่้านั้น อัตราการว่างงานเป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบโดยตรง

              ต่อความเหลื่อมล้้า ซึ่งพบผลสอดคล้องกับงานชิ้นนี้ ค้าอธิบายเบื้องต้นนั้น ส้าหรับพลเมืองที่อยู่ในกลุ่มประเทศ

              รายได้สูง มักมีแหล่งเงินออม การถือครองกรรมสิทธิ์ และระบบสวัสดิการของรัฐที่เอื้อต่อการด้ารงชีพ กล่าวคือ

              ในความต้องการขั้นต่้านั้น พลเมืองในประเทศที่พัฒนาแล้วสามารถอยู๋ได้โดยปราศจากงาน อย่างน้อยก็ใน

              ช่วงเวลารองาน ประกอบกับงานและทักษะในการท้างาน รวมไปถึงระบบการจ้างงานในกลุ่มประเทศที่พัฒนา

              แล้วนั้น มีระบบและเป็นลักษณะมืออาชีพมากกว่า การย้ายสายงาน การพัฒนาเส้นทางอาชีพ เป็นไปอย่างเสรี

              และมีประสิทธิภาพมากกว่า ดังนั้นการว่างงานในช่วงขณะหนึ่งจึงไม่เป็นปัญหาส้าหรับพลเมืองของประเทศ

              ที่อยู่ในกลุ่มรายได้สูงของโลก


                         ในทางกลับกันรายได้และค่าครองชีพในกลุ่มประเทศรายได้ต่้า รวมไปถึงรายได้ปานกลางเป็น

              ประเด็นที่โดนกระทบได้ง่ายจากปัจจัยแวดล้อมอื่น เช่น สุขภาพ การศึกษา ระดับเงินออมและทักษะอาชีพ

              รวมไปถึงทุนทางสังคมของพลเมืองในกลุ่มประเทศรายได้ต่้าและปานกลาง มีลักษณะที่ค่อนข้างเสียเปรียบ

              กล่าวคือ นอกจากจะยากจนแล้ว พลเมืองของกลุ่มประเทศดังกล่าวยังมีศักยภาพในการพัฒนาคุณภาพชีวิต

              ได้น้อย วัฏจักรดังกล่าวน้าไปสู่การติดกับดักรายได้ปานกลางในภาพรวมในท้ายที่สุด จึงไม่น่าแปลกใจที่ผลงาน

              วิจัยจะพบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของการว่างงานว่ามีผลกระทบต่อระดับความเหลื่อมล้้าในกลุ่มประเทศรายได้

              ปานกลางและต่้า นอกจากนี้สภาพความเป็นชุมชนชนบทและการอาศัยแบบเครือญาติที่พบเห็นได้ในประเทศ

              รายได้ปานกลางและต่้า ส่งผลให้การว่างงานของผู้ที่มีรายได้ต่้าในกลุ่มประเทศรายได้ปานกลางและต่้า กระทบ

              ต่อครอบครัวและส่งผลให้เกิดการพัฒนาที่ยากล้าบากมากขึ้น ดังนั้นแล้วในกลุ่มประเทศรายได้ปานกลางจ้าเป็น

              อย่างยิ่งที่รัฐบาลจะต้อง “สร้างงานและลดอัตราการว่างให้มากที่สุด” เพื่อสร้างรายได้ให้พอแก่การด้ารงชีพ

              ของประชาชนของตน ส้าหรับแนวทางในการลดอัตราการว่างงานที่เป็นเครื่องมือโดยทั่วไปนั้น อาจแบ่งได้เป็น


                            นโยบายฝั่งอุปสงค์การจ้างงาน  เป็นแนวทางการแทรกแซงของรัฐบาลสู่ตลาดแรงงาน เช่น

              1) นโยบายทางการคลัง  ในการออกมาตรการลดภาษีและการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานมหภาค โดยวิธีการ

              ดังกล่าวถือเป็นการเพิ่มอุปสงค์มวลรวมให้แก่ประเทศ ซึ่งจะน้าไปสู่การจ้างงานในท้ายที่สุด อย่างไรก็ตาม

              การใช้มาตรการทางการคลังมีระยะเวลาในการเกิดผลที่เหลื่อมออกไปขึ้นอยู่กับบริบทของประเทศนั้นๆ

              2) นโยบายทางการเงิน  ในการออกมาตรการลดดอกเบี้ย นโยบายซึ่งส่งผลให้เกิดการจ้างงานจากดอกเบี้ย

              ในการกู้เพื่อลงทุนที่ปรับเปลี่ยน รวมไปถึงการไหลเข้าของเงินทุนจากต่างประเทศ อย่างไรก็ดี นโยบายดอกเบี้ย

              อาจเป็นดาบสองคมที่ให้ผลในทางตรงกันข้ามในบางกรณี และเช่นเดียวกับนโยบายทางการคลัง ตัวนโยบาย

              ทางการเงินก็จ้าเป็นต้องใช้เวลาเหลื่อมในการแสดงผลลัพธ์จากการปรับเปลี่ยนตัวนโยบาย
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92