Page 84 - kpi20896
P. 84
83
จ่ายให้ใครต้องมีเหตุผลและหลักฐานเชิงประจักษ์
โดยปกติการสร้างนโยบายใดๆ ขึ้นมา มักถูกผูกโยงไว้กับเจ้าภาพในการน้านโยบายไปปฏิบัติ
รัฐบาลโดยส่วนใหญ่จึงมักตัดสินใจแบบเปลี่ยนแปลงจากเดิมเล็กน้อย (incrementalism) จากความต้องการ
รักษาสภาพที่จัดการได้ ควบคุมได้ และมักอนุมานว่าผลที่ได้นั้นพอรับได้หรือการติดกับดักด้านการตัดสินใจ
(Muddling Through) น้าไปสู่ความคิดในการออกนโยบายที่เน้นไปที่ฝ่ายที่รับผิดชอบว่าใครหรือส่วนงานใด
จะเป็นผู้ด้าเนินการ ประกอบกันความซับซ้อนและขนาดที่ใหญ่โตของระบบราชการยิ่งเป็นผลให้วิธีการคิดแบบ
“ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดิม” ยิ่งพบเห็นได้มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งภารกิจที่เกี่ยวข้องกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
จ้านวนมาก จะยิ่งกระตุ้นให้รัฐบาลพยายามที่จะรักษาสถานะเดิมไว้ (Status Quo) จนในที่สุดหลงลืมวาระ
ที่ส้าคัญที่สุดของนโยบายที่ตัดสินใจน้าไปปฏิบัติ คือ มีความจ้าเป็นมากน้อยเพียงใดและใครเป็นผู้สมควรได้รับ
ผลจากนโยบาย (Need assessment) รวมไปถึงการเลือกท้านโยบายไปตามงบประมาณที่เคยใช้โดยหน่วยงาน
ที่เคยท้า นั่นคือการให้ความส้าคัญกับผู้ใช้จ่ายมากกว่าผู้ได้รับประโยชน์ ซึ่งพบเห็นได้เป็นปกติส้าหรับองค์การ
ขนาดใหญ่และระบบราชการ ดังนั้นในสภาวะจ้ากัดของประเทศกลุ่มรายได้ปานกลางและรายได้ต่้าสมควร
พิจารณาประเด็นผู้ได้รับประโยชน์จากนโยบายที่จะต้องได้ผลลัพธ์จากนโยบายที่ชัดเจนด้วยเหตุผลที่มีหลักฐาน
อ้างอิงเชิงประจักษ์ เช่น
เลือกกลุ่มเป้าหมายด้วยมุมมอง Quasi-Experiment Design ความส้าเร็จและผลลัพธ์
ที่ต้องการของนโยบายที่น้าไปปฏิบัติเป็นสิ่งที่ขึ้นอยู่กับความสามารถในการแยกแยะและท้าความเข้าใจ
กลุ่มเป้าหมาย (Target group) ของนโยบายอย่างรอบคอบ โดยทั่วไปกระบวนการ Segmentation จะถูกใช้
ในการวิเคราะห์และแยกแยะข้อมูลทั่วไปของประชากรในเชิง Socio-Economic รวมถึงความเชื่อมโยงในทาง
พฤติกรรม โดยในการออกแบบนโยบายที่ตรงเป้าหมายที่ก้าหนดและน้าไปสู่ความสามารถน้าไปปฏิบัติได้
ผู้ตัดสินใจเชิงนโยบายจ้าเป็นต้องค้านึงถึงหลักการส้าคัญสองประการคือ ประการแรก สภาพความรุนแรง
และขอบเขตของปัญหาว่ามีลักษณะอย่างไรและใครบ้างที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาดังกล่าว ประการที่สอง
คือสภาพแวดล้อมของนโยบายทั้งในแง่การก้าหนดนโยบายและความสามารถน้าไปปฏิบัติได้ ซึ่งประการหลัง
นี้เอง นับเป็นอุปสรรคส้าคัญในการก้าหนดกลุ่มเป้าหมายของนโยบายที่ถูกต้อง เพราะนอกจากข้อมูลในการ
ตัดสินใจจะมีอยู่อย่างจ้ากัดแล้ว สภาพแวดล้อมของกลุ่มประชากรที่มีความผันผวนสูงจะยิ่งผลักดันให้การ
แยกแยะกลุ่มเป้าหมายเป็นไปได้อย่างยากล้าบากมากขึ้น ลักษณะดังกล่าวเมื่อประกอบเข้ากับบริบทสภาพ
จ้ากัดของกลุ่มประเทศรายได้ปานกลางและรายได้ต่้า ที่ได้รับแรงกดดันในการสร้างนโยบายที่จ้าเป็นอย่างยิ่ง
ที่จะต้องค้านึงถึงการจัดล้าดับความส้าคัญและความเร่งด่วนของปัญหา รวมถึงผลประโยชน์จากนโยบาย
ที่จะต้องเห็นได้อย่างชัดเจนเป็นรูปธรรม ท้าให้กระบวนการเลือกกลุ่มเป้าหมายยิ่งกลายเป็นสิ่งที่มีความส้าคัญ