Page 83 - kpi20896
P. 83

82



              ท้าไมการกระจายตัวของรายได้จึงเกิดความแตกต่างและมีสภาพเหลื่อมล้้ารุนแรงในกลุ่มประเทศรายได้

              ปานกลางดังที่ปรากฏ และเมื่อน้าข้อมูลที่น้าเสนอว่า “รายจ่ายจะเพิ่มขึ นไปตามรายได้ที่มีเพิ่มขึ น” โดยแบ่ง

              ประเทศเป็นสามกลุ่มคือ รายได้สูง  รายได้ปานกลาง และรายได้ต่้า จะพบลักษณะดังนี้


                             ภาพ 5.1  แสดงรายจ่ายของรัฐบาลรวมตามสัดส่วนผลิตภัณฑ์มวลรวม

                                             แบ่งตามกลุ่มรายได้ของประเทศ


                                  GENARAL GOVERNMENT FINAL CONSUMPTION

                                                EXPENDITURE (% GDP)


                                                  High      Middle     Low
                        20
                        19
                        18
                        17
                        16
                        15
                        14
                        13
                        12
                        11
                        10
                                2011         2012        2013         2014         2015        2016
                      High      18.603      18.413       18.292      18.128       18.004      17.924
                      Middle    13.824      14.007       14.172      14.157       14.561      14.763
                      Low       12.205       12.06       12.605      12.614       16.055      13.646


                    ที่มา : https://data.worldbank.org/indicator/NE.CON.GOVT.ZS?locations=XM-XP-XD
                                                เข้าถึง 20 กันยายน 2562



                         จะเห็นได้ว่ารายจ่ายของรัฐบาลของประเทศที่ร่้ารวยกว่ามีแนวโน้มว่ามีปริมาณการใช้จ่าย

              ที่มากกว่าประเทศที่รายได้ต่้ากว่า ซึ่งตรงกับหลักการทั่วไปเมื่อมีรายได้มากขึ้น การใช้จ่ายก็จะมีมากขึ้น
              เป็นปกติ หรือ “ยิ่งร่้ารวยยิ่งใช้จ่าย” ดังนั้นประเด็นความเหลื่อมล้้าและการใช้จ่ายซึ่งเป็นผลมาจากรายได้

              ที่เพิ่มขึ้นซึ่งเป็นผลพวงจากการพัฒนาทางเศรษฐกิจ จึงมีทิศทางเป็นลบหรือท้าให้เกิดความเหลื่อมล้้ามากขึ้น

              จากหลักการนี้ท้าให้ประเด็นที่ว่าต้องจ่ายเท่าไหร่จึงจะลดความเหลื่อมล้้าได้  ไม่มีน้้าหนักให้พิจารณา ผู้วิจัย

              จึงเสนอให้ใช้มุมมองว่าใช้จ่ายอย่างไร ซึ่งในที่นี้คือการมุ่งใช้จ่ายเพื่อให้เกิดการกระจายที่ดีขึ้นในกลุ่มคนที่

              อยู่ในช่วงชั้นต่้าสุดของรายได้ ซึ่งก็คือ “การใช้จ่ายเพื่อใคร”  ซึ่งพบว่าในกลุ่มประเทศรายได้ปานกลางและต่้า

              มักใช้จ่ายไปอย่างผิดเป้าหมาย เช่น ผลสุดท้ายของการใช้จ่ายที่รัฐกระจายผลประโยชน์ ที่มุ่งเน้นไปสู่คนชั้นล่าง

              ที่ด้อยโอกาสกลับตกไปสู่คนชั้นกลาง (Tanzi, 1974; Alesina, 1998; Davoodi et al 2003; Rhee et al,

              2014) ดังนั้นหน้าที่ดังกล่าวเป็นของรัฐบาลในการก้าหนดทิศทางการใช้จ่าย ว่าจะกระจายการใช้จ่ายเพื่อ

              คนกลุ่มใดในสังคม ซึ่งเป็นประเด็นที่จะน้าเสนอในหัวข้อต่อไป
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88