Page 86 - kpi20896
P. 86
85
ด้าเนินการไปว่ามีผลลัพธ์อย่างไรซึ่งจุดอ่อนประการส้าคัญ คือ ความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นในแบบ Prepost
Design จะยิ่งส่งผลมากขึ้น หากไม่วางแผนในการควบคุมและวัดผลแต่ถ้าหากวางแผนในการควบคุมตัวแปร
ไว้อย่างชัดเจน ผลลัพธ์ที่ได้จะสามารถอนุมานไปสู่กลุ่มประชากรได้อย่างน่าเชื่อถือกว่ากระบวนการแบบ
Prepost Design และ 3) Stepped-Wedge Design เป็นรูปแบบผสมผสานที่ซับซ้อนมากขึ้นโดยการสร้าง
ล้าดับการ intervention ไปสู่กลุ่มทดลองหลายกลุ่มซึ่งได้รับในเวลาที่แตกต่างกันอย่างเป็นระบบเพื่อยืนยันผล
อย่างชัดเจนว่า intervention ที่ก้าหนดสร้างผลลัพธ์ให้เกิดขึ้นได้จริง (Brown and Lilford, 2006) ทั้งนี้การ
เก็บข้อมูลตรวจสอบผลจ้าเป็นต้องเก็บหลายครั้งเพื่อยืนยันความถูกต้อง ข้อจ้ากัดที่ส้าคัญนอกจากค่าใช้จ่าย
ที่สูงมาก (Hussey and Hughes, 2007) อุปสรรคส้าคัญอีกประการคือการต้องใช้กลุ่มประชากรที่มีลักษณะ
ใกล้เคียงกันมากกว่าสองกลุ่ม หรือการควบคุม Internal validity ให้เกิดลักษณะเท่าเทียมกัน อย่างไรก็ดี
หากสามารถวางแผนและน้าไปปฏิบัติได้ การด้าเนินการด้วยวิธีการนี้สามารถสร้างหลักฐานเชิงประจักษ์
ที่ชัดเจนและถูกต้องที่สุด
5.3.2 มีงานก็มีเงิน
อัตราการว่างงานเป็นอีกหนึ่งตัวแปรที่มีความน่าสนใจในการศึกษาความเหลื่อมล้้า ทั้งนี้ลักษณะ
โดยทั่วไปของอัตราการว่างงานมีความพิเศษตรงที่ ในกลุ่มประเทศที่ร่้ารวยนั้นจะมีอัตราการว่างงานที่สูงกว่า
กลุ่มประเทศที่มีรายได้ต่้ากว่า ซึ่งจากการสืบค้นข้อมูลสามารถน้าเสนอได้ดังนี้
ภาพ 5.2 แสดงอัตราการว่างงานแบ่งตามกลุ่มรายได้ของประเทศ
UNEMPLOYMENT (% LABOR FORCE)
High Middle Low
10
8
6
4
2
0
2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018
High 7.889 7.926 7.836 7.231 6.618 6.147 5.59 5.114
Middle 4.849 4.867 4.902 4.852 5.036 5.154 5.085 5.071
Low 4.094 3.964 3.892 3.715 3.76 3.736 3.566 3.566
ที่มา : https://data.worldbank.org/indicator/SL.UEM.TOTL.ZS?locations=XM-XP-XD
เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2562