Page 40 - kpi20896
P. 40

39



                 “บริหารงานภาครัฐภายใต้บริบทโลกาภิวัตน์และประชาธิปไตย” ซึ่งจะก่อให้เกิดลักษณะ “อ้านาจที่แท้จริง

                 อยู่ที่พลเมือง ซึ่งเกิดจากเครือข่ายประชาสังคมที่แข็งแกร่ง โดยกลไกรัฐมีหน้าที่เพียงสนับสนุนและอ้านวย

                 ความสะดวก” ดังนั้นความคาดหวังของประชาชนต่อรัฐบาลจะมีสูงขึ้น รวมถึงความรู้และการตระหนักถึง

                 สิทธิของตนเองก็มีมากขึ้น ก่อให้เกิดการปรับตัวให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน อย่างไรก็ตาม

                 Governance ไม่ใช่ยาวิเศษ แต่เป็นปรัชญาที่ชี้น้าการบริหารภาครัฐให้เกิดผลระยะยาวภายใต้สภาพแวดล้อม

                 ที่เปลี่ยนแปลงรุนแรงดังเช่นปัจจุบัน


                               ทั้งนี้จากการสังเคราะห์ค้านิยามจากหน่วยงานสากล และทบทวนแนวคิดพื้นฐานจากทฤษฎี

                 ที่เกี่ยวข้อง ท้าให้การศึกษาครั้งนี้ได้ให้ความหมาย Governance หมายถึง “ความสามารถของรัฐบาลในการ

                 ออกและบังคับใช้กฎหมาย ที่ท้าให้เกิดการส่งมอบการบริการสาธารณะแก่ประชาชน และก่อให้เกิดการพัฒนา

                 ประเทศ” ซึ่งเมื่อมองภาพจากค้านิยามที่ได้วางไว้ Governance จึงเป็นการด้าเนินการหรือการปฏิบัติภารกิจ

                 ของรัฐมากกว่าที่จะเป็นค้าที่ใช้สื่อสารเชิงนามธรรมของความเป็นรัฐที่ดี นอกจากนี้ยังสะท้อนให้เห็นถึงลักษณะ

                 ของการมี “กระบวนการ” ท้าให้เกิดความสามารถที่จะประเมินความสามารถของรัฐว่า ดี หรือ ไม่ดี จาก

                 ทิศทางที่สามารถประเมินได้ดังกล่าวจึงเกิดแนวคิด Good Governance หรือ ธรรมาภิบาลนั่นเอง  ในโลก

                 ปัจจุบันที่แนวคิดเศรษฐศาสตร์กระแสหลักได้เป็นหลักการขับเคลื่อนภารกิจและแนวนโยบายแห่งรัฐ รัฐบาล

                 ทั่วโลกมักประสบกับปัญหาจากข้อจ้ากัดบางประการ เช่น ความไม่สามารถท้าความเข้าใจบริบทที่นอกเหนือ

                 จากตัวตลาด หรือสถาบันทางสังคม ซึ่งนักนโยบายมักผลักภาระออกไปให้ส่วนดังกล่าวเป็นปัจจัยภายนอกที่

                 ไม่สามารถควบคุมได้ ท้าให้การท้านายหรือคาดการณ์ รวมถึงการสร้างแนวนโยบายที่สอดคล้องกับสภาพ

                 เชิงประจักษ์ ไม่สามารถเกิดความสมเหตุสมผลและความส้าเร็จได้  อย่างไรก็ดี นักเศรษฐศาสตร์อีกกลุ่มหนึ่ง

                 เล็งเห็นความส้าคัญและพยายามน้าประเด็นดังกล่าวมาสร้างขึ้นเป็นแนวคิดโดยพยายามน้าเอาปัจจัยที่

                 นักเศรษฐศาสตร์กระแสหลักไม่พยายามท้าความเข้าใจ ใส่เข้าไปในสมการโครงสร้างในฐานะตัวแปรตัวหนึ่ง

                 โดยนิยามว่าเป็นตัวแปรสถาบันด้วยฐานคติที่ว่า “สถาบันย่อมมีบทบาทอย่างส้าคัญต่อการก้าหนดพฤติกรรม

                 ของมนุษย์ในสังคม” ในขณะเดียวกัน “มนุษย์ก็พยายามเปลี่ยนแปลงสถาบันเพื่อก้ากับพฤติกรรมของมนุษย์

                 เพื่อความเป็นเอกภาพ” เช่นการจ้ากัดสิทธิ เป็นต้น


                            2.1.5.2 Good Governance

                               Good Governance หรือ ธรรมาภิบาล เป็นแนวคิดที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง


                 ทั่วโลกซึ่งจากการทบทวนวรรณกรรมในหัวข้อก่อนหน้าน้าไปสู่การประเมินศักยภาพหรือคุณภาพของรัฐว่า
                 ดี หรือ แย่ อย่างไร หากประเมินแล้วพบว่า ดี รัฐดังกล่าวก็มีลักษณะ Good Governance นั่นเอง จากการ


                 สืบค้นพบว่าประเด็นธรรมาภิบาลได้ถูกน้ามาใช้อ้างอิงมายาวนานแล้ว โดยในงานวิจัยชื่อ Sub-Sahara : From
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45