Page 89 - kpi20761
P. 89

88

                         ๓.     ความยากจน ณ แห่งใดแห่งหนึ่ง ย่อมเป็นปฏิปักษ์
                                ต่อความเจริญรุ่งเรืองในทุกแห่ง

                         ๔.     มนุษย์ทุกคนมีสิทธิที่จะแสวงหาสวัสดิภาพด้านวัตถุ
                                และพัฒนาการด้านจิตใจ ภายใต้เงื่อนไขของเสรีภาพ

                                และความภาคภูมิความมั่นคงทางเศรษฐกิจและ
                                โอกาสที่เท่าเทียมกัน โดยมิค�านึงถึงเชื้อชาติ ความเชื่อ
                                หรือเพศใดๆ ทั้งสิ้น


                         อีกทั้งยังได้มีการรับรองสถานะของ ILO ให้เป็นทบวงช�านัญพิเศษ
                 ของสหประชาชาติ (United Nations) ด้านการแรงงานและสังคม เป็นผลให้

                 ILO สามารถปฏิบัติหน้าที่ในการก�าหนดหลักการแรงงานสากล (๑.๒.๑.๑)
                 สืบต่อมา อย่างไรก็ตาม หลักการบางเรื่อง ILO เน้นย�้าและให้ความส�าคัญ

                 เป็นพิเศษ (๑.๒.๑.๒) ด้วยเห็นว่าหลักการเช่นนั้นมีเนื้อหาที่ส�าคัญในการ
                 ขับเคลื่อนให้เกิดความยุติธรรมในสังคมโลกได้อย่างแท้จริง




                         ๑.๒.๑.๑ หลักการแรงงานสากล


                         บทบำทของ ILO การก�าหนดมาตรฐานการใช้แรงงานในประเด็น
                 ต่างๆ ถือเป็นพันธกิจหลักขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ ซึ่งหลักเกณฑ์
                 ดังกล่าวอาจอยู่ในรูปของอนุสัญญา (Convention) อันเป็นตราสารระหว่าง

                 ประเทศที่ ILO ใช้เป็นเครื่องมือในการวางหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการแรงงาน
                 ในประเด็นส�าคัญต่างๆ ที่เมื่อประเทศสมาชิกใดให้สัตยาบันแล้วก็จะต้อง

                 ถือเป็นข้อผูกพันในการน�าไปใช้บังคับ โดยการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายและ
                 แนวปฏิบัติภายในให้สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ดังกล่าว นอกจากนี้แล้ว ILO
                 อาจก�าหนดหลักเกณฑ์การใช้แรงงานในรูปของข้อแนะ (Recommendation)

                 ซึ่งเป็นตราสารที่มีคุณค่าเพียงก�าหนดแนวทางและวิธีการเพื่อให้ประเทศ
                 สมาชิกมีเครื่องมือในการน�าหลักการที่ก�าหนดไว้ในอนุสัญญาไปปฏิบัติ






         inside_ThLabourLaw_c1-2.indd   88                                     13/2/2562   16:24:10
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94