Page 84 - kpi20761
P. 84
การพัฒนาและปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมายแรงงานไทยให้สอดคล้องกับหลักการสากลและแนวทางปฏิรูปประเทศ 83
ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการแรงงาน เป็นที่มาในทางรูปแบบของกฎหมาย
แรงงานไทย ซึ่งพระราชบัญญัติเหล่านี้อาจมีการตรากฎหมายล�าดับรอง
เพื่อก�าหนดและ/หรือขยายประเด็นรายละเอียดในบางเรื่องตามที่
พระราชบัญญัติได้ก�าหนดให้อ�านาจไว้ (๑.๑.๓.๑) อย่างไรก็ตาม จ�านวนที่
หลากหลายของกฎหมายเหล่านี้โดยไม่มีการประมวลไว้ด้วยกันย่อมท�าให้
เกิดปัญหาความลักลั่น หรือไม่สอดคล้องในบางประการเมื่อมีการน�าเอา
กฎหมายไปใช้งานจริง อันถือได้ว่าเป็นประเด็นเพื่อการพิจารณาในรูปแบบ
ของกฎหมายแรงงานไทยที่ส�าคัญ (๑.๑.๓.๒)
๑.๑.๓.๑ พระราชบัญญัติเฉพาะเรื่องและกฎหมายล�าดับรอง
กฎหมำยแม่บท นอกจากพระราชบัญญัติและบทบัญญัติ
ล�าดับศักดิ์เดียวกันพระราชบัญญัติรวมทั้ง ๙ ฉบับ ที่ได้ยกมาอภิปรายให้
๑๑๔
เห็นลักษณะเด่นข้างต้นนี้แล้ว บทกฎหมายที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการแรงงาน
ในปัจจุบันยังมีอีกหลายฉบับ ตัวอย่างเช่น พระราชบัญญัติประกันสังคม
พ.ศ. ๒๕๓๓ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้รับงานไปท�าที่บ้าน พ.ศ. ๒๕๕๓
เป็นต้น ท�าให้เห็นได้ว่าการศึกษากฎหมายแรงงานไทยจ�าเป็นต้องทราบถึง
เนื้อหาแห่งสิทธิและหน้าที่ในพระราชบัญญัติแต่ละฉบับเป็นส�าคัญ
๑๑๔ พระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน พ.ศ. ๒๕๒๘ พระราชก�าหนด
การบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
พ.ศ. ๒๕๔๑ พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. ๒๕๓๗ พระราชบัญญัติความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�างาน พ.ศ. ๒๕๕๔ พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์
พ.ศ. ๒๕๑๘ พระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒
พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๓ และพระราชบัญญัติแรงงาน
ในเรือเดินทะเล พ.ศ. ๒๕๕๘
inside_ThLabourLaw_c1-2.indd 83 13/2/2562 16:24:10