Page 87 - kpi20761
P. 87
86
๑.๒ สถานะกฎหมายแรงงานไทยในมุมมองสากล
นานาประเทศต่างยอมรับและถือเป็นเครื่องมือส�าคัญที่จะน�า
มาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงกฎหมายตลอดจนแนวปฏิบัติภายใน
เกี่ยวกับการแรงงาน ในเกณฑ์มาตรฐานกลางเกี่ยวกับเรื่องการแรงงาน
ในประเด็นต่างๆ ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International
Labour Organization - ILO) (๑.๒.๑) ด้วยเหตุนี้ การน�ามาตรฐานสากล
มาเปรียบเทียบกับกฎหมายแรงงานไทยที่ปรากฏก็จะท�าให้ได้ค�าตอบ
ของสถานะกฎหมายแรงงานไทยในมุมมองสากลขึ้นได้ (๑.๒.๒)
๑.๒.๑ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International
Labour Organization - ILO) กับหลักการแรงงานสากล
ประวัติและควำมเป็นมำ เมื่อสงครามโลกครั้งที่ ๑ สิ้นสุดลง
ใน ค.ศ. ๑๙๑๘ นานาประเทศได้ตระหนักว่าปัญหาแรงงานเป็นสาเหตุส�าคัญ
ประการหนึ่งของการเกิดสงครามครั้งนี้ จึงได้มีการบรรจุแนวทางในการ
๑๑๖
บริหารจัดการแรงงานไว้ในสนธิสัญญาแวร์ซายส์ (Traité de Verseille)
ส่วนที่ ๑๓ ข้อที่ ๘๓๗ โดยมี ๔๒๒ ข้อที่ ๙ ประการ เนื้อความโดยสรุป คือ
๑. แรงงานมิอาจเป็นสินค้าที่มีการซื้อขายกันได้
๒. สิทธิในการรวมตัวเป็นสมาคม
๓. การจ่ายค่าแรงที่เพียงพอต่อการด�ารงชีพ
๔. ชั่วโมงการท�างานต้องอยู่ระหว่าง ๘ ชั่วโมงต่อวัน หรือ
๔๘ ชั่วโมงต่อสัปดาห์
๑๑๖
สนธิสัญญำแวร์ซำยส์ (Traité de Verseille) โปรดศึกษาhttp://www.ysmithcpallen.
com/sites/default/files/sites/all/documents/traite_versailles_0.pdf
inside_ThLabourLaw_c1-2.indd 86 13/2/2562 16:24:10