Page 94 - kpi20761
P. 94
การพัฒนาและปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมายแรงงานไทยให้สอดคล้องกับหลักการสากลและแนวทางปฏิรูปประเทศ 93
และ ๖๐ ประเทศ ๔๐ ประเทศ และ ๒๗ ประเทศ ที่ได้ให้สัตยาบันเป็น
จ�านวน ๓ ฉบับ ๒ ฉบับ และ ๑ ฉบับตามล�าดับ และอีก ๒๐ ประเทศที่ยัง
ไม่ได้ให้สัตยาบันกับอนุสัญญาฉบับใดเลย ท�าให้เห็นได้ว่าอนุสัญญากลุ่มนี้
ยังคงได้รับความสนใจจากประเทศสมาชิกเป็นจ�านวนน้อยเมื่อเทียบกับ
การให้สัตยาบันกลุ่มอนุสัญญาหลักของประเทศสมาชิก
(ค) ทำงปฏิบัติของ ILO กับกำรเน้นย�้ำในควำมส�ำคัญ
ของกลุ่มอนุสัญญำแกน
การตรวจสอบและควบคุมของ ILO แม้ว่า ILO ถือเป็นองค์การ
ระหว่างประเทศที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดในปัจจุบัน กระนั้น ILO ก็เป็นองค์การ
ที่มีแต่เพียงอ�านาจในการก�าหนดเกณฑ์การใช้แรงงานสากล ตลอดจน
ข้อแนะน�าและแนวปฏิบัติที่ประเทศสมาชิกสามารถน�าไปปรับใช้เพื่อให้
บรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกันได้ โดยปราศจากซึ่งอ�านาจในการลงโทษหาก
ปรากฏว่าประเทศสมาชิกที่ให้สัตยาบันกับอนุสัญญาหรือรับเอาข้อแนะ
ฉบับใดแล้ว ได้กระท�าการอันเป็นการละเมิดหรือฝ่าฝืนเนื้อหาในตราสาร
ระหว่างประเทศนั้นๆ โดยทางปฏิบัติ ILO จะมีเพียงอ�านาจในการตรวจสอบ
ถูกความต้องของการใช้แรงงานให้เป็นไปตามมาตรฐานและการปฏิบัติตาม
เนื้อหาในอนุสัญญาที่ได้ให้สัตยาบันไว้เท่านั้น ซึ่งหากพบข้อฝ่าฝืนใดๆ อีก
ILO ก็จะใช้วิธีการลงโทษโดยการประนามประเทศสมาชิกที่ฝ่าฝืนเงื่อนไข
ในอนุสัญญาที่ได้มีการให้สัตยาบันต่อ ILO ไว้
วิธีกำรก�ำกับดูแลของ ILO : บทสะท้อนกำรให้ควำมส�ำคัญ
เป็นล�ำดับแรกกับกลุ่มอนุสัญญำแกน เพื่อให้บรรลุซึ่งวัตถุประสงค์
สุดท้ายขององค์การฯ ILO ได้ก�าหนดให้มีการก�ากับดูแลการน�ามาตรฐาน
inside_ThLabourLaw_c1-2.indd 93 13/2/2562 16:24:11