Page 78 - kpi20761
P. 78

การพัฒนาและปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมายแรงงานไทยให้สอดคล้องกับหลักการสากลและแนวทางปฏิรูปประเทศ  77


                    เฉพาะรายบุคคล และการคุ้มครองในลักษณะของการร่วมกันเพื่ออ�านาจ
                    ในการต่อรอง ไปจนกระทั่งการระงับข้อพิพาทแรงงานในระดับต่างๆ ตั้งแต่

                    การใช้วิธีการแรงงาน วิธีการทางบริหาร และวิธีทางตุลาการอันถือเป็นที่สุด
                    อย่างไรก็ดี เนื้อหากฎหมายส่วนนี้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของกฎหมายแรงงานไทย
                    แต่เป็นส่วนที่น�ามาปรับใช้มากที่สุดและยังเป็นพื้นฐานของบทบัญญัติที่มี

                    เนื้อหาเกี่ยวกับการแรงงานในส่วนอื่นๆ อีกด้วย




                             ๑.๑.๒.๒ กฎหมายแรงงานเฉพาะ

                             กรอบควำมคิด ค�าว่า “เฉพาะ” ของกฎหมายแรงงานที่กล่าว

                    ในส่วนนี้ก็คือ ความเฉพาะของบทกฎหมายที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจาก
                    ลักษณะของงานที่มีเอกลักษณ์ท�าให้บทบัญญัติว่าด้วยการแรงงานทั่วไป

                    ดังกล่าวมาข้างต้นนี้ ไม่สามารถน�ามาปรับใช้กับงานอันมีลักษณะในกลุ่มนี้
                    ได้ถนัดนัก ดังนี้แล้วบทบัญญัติว่าด้วยการแรงงานพื้นฐานจึงถูกน�ามา
                    ปรับเปลี่ยนเนื้อหาสาระบางเรื่องให้สอดรับกับงานอันมีลักษณะเฉพาะ

                    และก�าหนดเป็นบทบัญญัติกฎหมายที่ก�าหนดขึ้นเพื่อบริหารจัดการ
                    ในงานนั้นๆ ซึ่งแม้คู่สัญญาในการจ้างงานอันมีความเฉพาะจะอยู่ภายใต้

                    กฎหมายแรงงานที่มีความเฉพาะตามประเภทงานก็ตาม (ข) แต่ก็ยาก
                    ที่จะปฏิเสธว่าความเฉพาะของเงื่อนไขในการท�างานก็ยังคงแฝงด้วย
                    หลักการร่วมกันในบางเรื่อง (ก)



                             (ก) หลักกำรร่วมกัน

                             โดยหลักการแม้กฎหมายแรงงานบางฉบับจะมีลักษณะเฉพาะ

                    บังคับใช้กับงานบางประเภทก็ตาม แต่หลักการต่างๆ ที่เป็นพื้นฐาน เช่น
                    ก�าหนดเวลาท�างาน การจ่ายค่าตอบแทนการท�างาน ความรับผิดของ








         inside_ThLabourLaw_c1-2.indd   77                                     13/2/2562   16:24:10
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83