Page 75 - kpi20761
P. 75
74
๓. กรณีที่จะต้องใช้สิทธิทางศาลตามกฎหมายคุ้มครอง
แรงงาน กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ กฎหมายแรงงาน
รัฐวิสาหกิจสัมพันธ์
๔. คดีอุทธรณ์ค�าวินิจฉัยของเจ้าพนักงานตามกฎหมาย
คุ้มครองแรงงาน คณะกรรมการแรงงานสัมพันธ์หรือ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานตามกฎหมายว่าด้วย
แรงงานสัมพันธ์ คณะกรรมการแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์
หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานตามกฎหมายว่าด้วย
แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ คณะกรรมการอุทธรณ์
ตามกฎหมายประกันสังคม และคณะกรรมการกองทุน
เงินทดแทนตามกฎหมายว่าด้วยเงินทดแทน
๕. คดีอันเกิดแต่มูลละเมิดระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง
อันสืบเนื่องจาก “ข้อพิพาทแรงงาน” หรือ “เกี่ยวกับ
การท�างานตามสัญญาจ้างแรงงาน” หรือระหว่างลูกจ้าง
กับลูกจ้างที่เกิดจากการท�างานในทางการที่จ้างด้วย
๖. ข้อพิพาทแรงงานที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน
ขอให้ศาลแรงงานชี้ขาดตามกฎหมายแรงงานสัมพันธ์
กฎหมายแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ หรือ กฎหมาย
ว่าด้วยการจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน
๗. คดีที่มีกฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอ�านาจของศาลแรงงาน
(ตัวอย่างเช่น พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้รับงานไปท�า
ที่บ้าน พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๗ )
๑๐๑
๑๐๑ รจ. เล่ม ๑๒๗ ตอนที่ ๗๐ ก ลงวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๓
inside_ThLabourLaw_c1-2.indd 74 13/2/2562 16:24:10