Page 77 - kpi20761
P. 77

76


                 เข้าเป็นสมาชิกกองทุน โดยการจ่ายเงินสะสมทั้งจากตัวลูกจ้างและ
                 จากตัวนายจ้างอันสะท้อนถึงลักษณะของการจัดสวัสดิการให้กับลูกจ้าง

                 ซึ่งก็ถือเป็นเนื้อหาในเรื่องการแรงงานอย่างหนึ่งเช่นกัน ๑๐๓



                         กำรเลิกจ้ำงไม่เป็นธรรม (มำตรำ ๔๙) อันที่จริงแล้ว บทบัญญัติ

                 มาตรา ๕๙ แห่งพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณา
                 คดีแรงงาน พ.ศ. ๒๕๒๒ ก�าหนดวิธีการในการเยียวยาเมื่อคดีที่ศาลแรงงาน
                 รับไว้พิจารณานั้น เป็นประจักษ์ได้ว่ามีการเลิกจ้างที่ไม่เป็นธรรมเกิดขึ้น

                 อันท�าให้บทบัญญัติมาตรานี้มีรูปแบบเป็นกฎหมายวิธีสบัญญัติโดยแท้
                 หากแต่การน�าไปปฏิบัติบังคับใช้กลับเป็นไปในทิศทางตรงกันข้าม มีการ

                 ยื่นฟ้องต่อศาลแรงงานด้วยเหตุแห่งการเลิกจ้างไม่เป็นธรรมโดยอ้างถึง
                 เนื้อหาในมาตรา ๕๙ นี้ อันเป็นการอ้างถึงสิทธิที่ถูกกระทบจึงเท่ากับว่า
                 ผู้ฟ้องที่อ้างบทบัญญัตินี้ได้น�ามาตรา ๕๙ มาใช้อย่างกฎหมายสาระบัญญัติ

                 และศาลแรงงานก็รับคดีไว้ในการพิจารณาเรื่อยมาจนกลายเป็นการยอมรับ
                 ว่าลูกจ้างสามารถโต้แย้งการถูกเลิกจ้างด้วยเหตุใดๆ อันตัวลูกจ้างอาจ

                 เข้าใจได้อย่างวิญูชนว่าเหตุดังกล่าวนั้นไม่เป็นธรรมแก่ตน โดยการท�า
                 เป็นค�าฟ้องยื่นต่อศาลแรงงาน อันถือเป็นเขตอ�านาจที่ศาลแรงงานสามารถ
                 รับคดีไว้ในการพิจารณาได้อีกข้อหนึ่ง




                         สรุป ในภาพรวมเนื้อหาของกฎหมายแรงงานไทยส่วนที่เป็น

                 บทบัญญัติพื้นฐานนั้น ถือว่าค่อนข้างมีความละเอียดและครอบคลุมเนื้อหา
                 การแรงงานตั้งแต่การเข้าสู่ตลาดแรงงาน การให้ความคุ้มครองส�าหรับ

                 ผู้ใช้แรงงานในตลาดแรงงานทั้งในลักษณะที่เป็นการคุ้มครองพื้นฐาน



                 ๑๐๓
                    ค�าวินิจฉัยของอธิบดีผู้พิพากษาศาลแรงงานกลาง ที่ ๘๘/๒๕๔๕





         inside_ThLabourLaw_c1-2.indd   76                                     13/2/2562   16:24:10
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82