Page 71 - kpi20761
P. 71
70
เป็นเบื้องต้นก่อน (๒.๒) หากไม่เป็นที่พอใจจึงสามารถน�าค�าวินิจฉัยนั้น
อุทธรณ์ไปยังศาลแรงงานได้ อย่างไรก็ตาม ข้อพิพาทในบางประเด็น
บทกฎหมายกลับยอมให้ลูกจ้างสามารถเลือกใช้สิทธิฟ้องร้องศาลแรงงาน
โดยตรงหรือน�าเรื่องไปร้องต่อพนักงานตรวจแรงงานก่อนเป็นการเบื้องต้น
แล้วจึงค่อยน�าค�าวินิจฉัย (หากไม่เป็นที่พอใจ) ไปฟ้องต่อศาลแรงงาน
ได้อีกโสตหนึ่ง (๒.๑)
(๒.๑) ทำงเลือกในกำรร้องเรียนข้อพิพำทต่อพนักงำน
เจ้ำหน้ำที่หรือน�ำคดีไปฟองตรงต่อศำลแรงงำน
กำรใช้สิทธิเรียกร้องเกี่ยวกับ “เงิน” ตำมกฎหมำยคุ้มครอง
แรงงำน ความในมาตรา ๑๒๓ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
พ.ศ. ๒๕๔๑ ได้ก�าหนดให้ลูกจ้าง “ที่ประสงค์” ให้พนักงานเจ้าหน้าที่
ด�าเนินการกับนายจ้างที่ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามบทกฎหมายที่ก�าหนด
สิทธิเกี่ยวกับเงินตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานฯ อันได้แก่
ค่าตอบแทนการท�างาน (ค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าท�างานในวันหยุด และ
๙๑
๙๐
๙๒
ค่าล่วงเวลาในวันหยุด) ดอกเบี้ยและเงินเพิ่ม เงินประกัน ค่าชดเชย
๙๓
และค่าชดเชยพิเศษ สามารถยื่นค�าร้องต่อพนักงานตรวจแรงงาน
๙๔
แห่งท้องที่ที่ลูกจ้างท�างานอยู่หรือนายจ้างมีภูมิล�าเนาอยู่ได้ และเมื่อมี
ค�าสั่งอย่างใดๆ แล้ว ฝ่ายใดไม่พอใจค�าสั่งก็สามารถน�าคดีไปสู่ศาลแรงงาน
ได้ภายใน ๓๐ วันนับแต่ทราบค�าสั่งนั้น ๙๕
๙๐ พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา
๙๑
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา
๙๒ พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา
๙๓ พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา
๙๔ พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา
๙๕
พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๑๒๕
๙๖ พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๘๓ และมาตรา ๑๑๑
inside_ThLabourLaw_c1-2.indd 70 13/2/2562 16:24:10