Page 69 - kpi20761
P. 69
68
พนักงานหรือลูกจ้างซึ่งแต่เดิมอยู่ภายใต้การคุ้มครองของกฎหมาย
แรงงานสัมพันธ์ ๒๕๑๘ นี้ ออกไปอยู่ภายใต้กฎหมายอีกฉบับหนึ่งชื่อว่า
“พระราชบัญญัติพนักงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๓๔” ด้วยเหตุ
๘๙
แห่งการเคลื่อนไหวของขบวนการแรงงานที่น�าโดยพนักงานรัฐวิสาหกิจ
ในช่วงปี ๒๕๓๔ ก่อนที่เหตุการณ์ดังกล่าวส่งผลให้เกิดการลุกลามรวมกับ
เหตุการณ์ทางการเมืองอื่นๆ จนถือเป็นต้นเหตุหนึ่งที่น�าไปสู่เหตุการณ์
พฤษภาทมิฬในช่วงปี ๒๕๓๕ นั่นเอง
(ง) กำรระงับข้อพิพำทแรงงำน
แนวคิด ตามหลักการแบ่งแยกอ�านาจ (Séparation des pouvoirs)
องค์กรที่มีอ�านาจตุลาการนับเป็นผู้ที่ชื่อว่ามีความเป็นกลางมากที่สุด
ในการพิพากษาตัดสินคดีความที่เกิดขึ้นจากการบังคับใช้กฎหมายต่างๆ
ในการบริหารจัดการรัฐ เช่นเดียวกันในทางแรงงานที่ถือเอาศาลแรงงาน (๓)
เป็นสถาบันส�าคัญที่ท�าหน้าที่ในการระงับข้อพิพาทขัดแย้งในทางแรงงาน
กระนั้นข้อพิพาทที่เกี่ยวกับการแรงงานบางเรื่องจ�าต้องได้รับการพิจารณา
จากเจ้าหน้าที่หรือคณะกรรมการที่มีอ�านาจในทางแรงงานบางประเด็นซึ่งได้
ก�าหนดไว้ในพระราชบัญญัติเฉพาะเรื่อง เสียก่อนจึงจะน�าค�าวินิจฉัย
ที่ได้รับไปร้อง (อุทธรณ์) ต่อศาลแรงงานเป็นล�าดับถัดไป (๒) อย่างไรก็ตาม
ข้อพิพาทแรงงานบางประเภทถือว่าเป็นข้อพิพาทที่เกี่ยวข้องกับคน
จ�านวนมากในสถานประกอบกิจการอันเป็นเรื่องของการแรงงานสัมพันธ์
ที่กฎหมายยอมรับให้มีการเจรจาและใช้วิธีการต่อรองด้วยการแรงงานสัมพันธ์
ก่อนที่จะน�าข้อพิพาทให้องค์กรที่มีอ�านาจทางบริหารหรือทางตุลาการ
พิจารณาตัดสินต่อไป (๑)
๘๙ ต่อมาได้ถูกยกเลิกและประกาศใช้พระราชบัญญัตติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์
พ.ศ. ๒๕๔๓ แทนที่
inside_ThLabourLaw_c1-2.indd 68 13/2/2562 16:24:09