Page 268 - kpi20761
P. 268
การพัฒนาและปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมายแรงงานไทยให้สอดคล้องกับหลักการสากลและแนวทางปฏิรูปประเทศ 267
อบรม แต่บังคับอบรมทั่วๆ ไป เป็นอบรมความรู้ทั่วๆ ไป แต่ถ้าไม่อบรม
คุณก็ส่งเงินเข้ากองทุน นายจ้างก็จะบ่นในส่วนนี้ เหมือนกฎหมายคนพิการ
ในพรบ. พัฒนาฝีมือแรงงาน”
ผศ.ดร.ศุภศิษฏ์ฯ : “ส่วนคนพิการตอนนี้เข้าที่มากขึ้นหรือไม่ หรือยังให้
ส่งเงินอยู่เหมือนเดิม”
นายณรงค์ฤทธิ์ฯ : “ส่งเงิน แต่ก็พยายามสร้างทางเลือก เช่น ให้สัมปทาน
ไป”
ผศ.ดร.ศุภศิษฏ์ฯ : “เกี่ยวกับเรื่องการฝึกแรงงานคนพิการ ตัวอย่าง
สัมปทาน คืออะไรบ้าง”
นายณรงค์ฤทธิ์ฯ : “เช่น โรงงานมีร้านอาหาร ก็มีที่ให้ขายลอตเตอรี่ไป
ก็จะไม่ต้องส่งเงิน หรือจ้างคนพิการแต่ไปท�างานที่อื่น โดยจ่ายค่าจ้าง
แทนองค์กรอื่น เป็นต้น เมื่อก่อนจะแคบ ท�าให้เวลาบังคับใช้กฎหมาย
เมื่อไม่มีการจ้างคุณก็จะต้องส่งเงินซึ่งก็เป็นจ�านวนที่เยอะพอควร ทีนี้
ที่ได้ไปคุยกับเขา นายจ้างติดเป็นหลายพันล้านเพราะไม่บังคับตรงนี้
ขณะเดียวกันเงินก็เยอะ แต่การปล่อยกู้น้อย เพราะมันต้องเขียนแผนและ
มีผู้ค้�าประกัน ขั้นตอนทางภาครัฐเยอะ นอกจากนี้ ระบบสาธารณูปโภค
ด้วย หากคนพิการไม่อยากไปท�าที่อื่น แต่อยากไปท�างานที่บ้านเพราะ
ตนไม่สะดวก ครั้นจะไปบังคับนายจ้างให้จ้างก็จะท�าไม่ได้
ส�าหรับกลุ่มผู้สูงอายุจะมีหลายมิติ ถ้าเป็นภาคเอกชนปัญหาจะอยู่ที่
ระบบการออมในระหว่างวัยท�างาน ของไทยจะมีระบบบังคับคือประกัน
สังคม ถ้าระบบสมัครใจก็จะเป็นกองทุนส�ารองเลี้ยงชีพ มีสองระบบ ทีนี้
ระบบประกันสังคมก็จะมีสิทธิประโยชน์หลายตัว ชราภาพก็ตัวหนึ่ง แต่ว่า
อัตรามันน้อย กฎหมายประกันสังคมพยายามจะเขียนแก้การเกษียณอายุ
จากเดิม ๕๕ ปีเป็น ๖๐ ปี ซึ่งบางส่วนก็ไม่เห็นด้วย สมมติว่าถ้าแก้ไปที่
inside_ThLabourLaw_c3-5.indd 267 13/2/2562 16:37:50