Page 202 - kpi20761
P. 202

การพัฒนาและปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมายแรงงานไทยให้สอดคล้องกับหลักการสากลและแนวทางปฏิรูปประเทศ  201


                             พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
                    พ.ศ.๒๕๕๐ ได้มีการนิยามความหมายของค�าว่า “คนพิการ” เอาไว้ว่า

                    “บุคคลซึ่งมีข้อจ�ำกัดในกำรปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจ�ำวันหรือเข้ำไป
                    มีส่วนร่วมทำงสังคม เนื่องจำกมีควำมบกพร่องทำงกำรเห็น กำรได้ยิน
                    กำรเคลื่อนไหว กำรสื่อสำร จิตใจ อำรมณ์ พฤติกรรม สติปัญญำ กำรเรียนรู้

                    หรือควำมบกพร่องอื่นใด ประกอบกับมีอุปสรรคในด้ำนต่ำงๆ และมี
                    ควำมจ�ำเป็นเป็นพิเศษที่จะต้องได้รับควำมช่วยเหลือด้ำนหนึ่งด้ำนใด

                    เพื่อให้สำมำรถปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจ�ำวันหรือเข้ำไปมีส่วนร่วม
                    ทำงสังคมได้อย่ำงบุคคลทั่วไป” เมื่อพิจารณาค�านิยามดังกล่าวแล้วย่อม
                    แสดงให้เห็นว่า โดยทั่วไปผู้ประกอบการไม่ว่าจะอยู่ในธุรกิจประเภทใด

                    ย่อมประสงค์จะจ้างบุคคลทั่วไปมากกว่าการจ้างคนพิการเนื่องจากบุคคล
                    ทั่วไปพึงท�างานตามสัญญาจ้างได้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลได้

                    ดีกว่าคนพิการ พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
                    พ.ศ.๒๕๕๐ จึงมีความจ�าเป็นต้องก�าหนดมาตรการส่งเสริมและพัฒนา
                    คุณภาพชีวิตคนพิการไว้หลายประการ อาทิ การเข้าถึงและใช้ประโยชน์

                    สิ่งอ�านวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะ ตลอดจนสวัสดิการและ
                    ความช่วยเหลืออื่นจากรัฐ แต่ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการจ้าง

                    คนพิการ มาตรการส่งเสริมการจ้างคนพิการสามารถแบ่งออกเป็นสี่ประการ
                    อันได้แก่ การก�าหนดให้มีการจ้างคนพิการ (๔.๒.๑.๑) การจ่ายเงิน
                    เข้ากองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (๔.๒.๑.๒) การให้สิทธิ

                    ประโยชน์ทางภาษีอากร (๔.๒.๑.๓) และมาตรการส่งเสริมอื่น (๔.๒.๑.๔)


















         inside_ThLabourLaw_c3-5.indd   201                                    13/2/2562   16:37:44
   197   198   199   200   201   202   203   204   205   206   207