Page 206 - kpi20761
P. 206
การพัฒนาและปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมายแรงงานไทยให้สอดคล้องกับหลักการสากลและแนวทางปฏิรูปประเทศ 205
คนพิการ พ.ศ.๒๕๕๐ จึงมีความจ�าเป็นต้องก�าหนดการให้สิทธิประโยชน์
ทางภาษีอากรเพิ่มเติมนอกเหนือจากการก�าหนดให้มีการจ้างคนพิการ
และการจ่ายเงินเข้ากองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
ทั้งนี้ เพื่อเป็นการจูงใจและแบ่งเบาภาระของนายจ้างและเจ้าของ
สถานประกอบการที่ถูกบังคับให้ต้องปฏิบัติตามพระราชบัญญัติดังกล่าว
ดังปรากฏตามมาตรา ๓๕ ของพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนา
คุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ.๒๕๕๐
การให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีซึ่งเป็นมาตรการส่งเสริมการจ้าง
คนพิการตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
พ.ศ.๒๕๕๐ มีการก�าหนดไว้ทั้งหมดสองประการอันได้แก่ การยกเว้น
ภาษีเงินได้จากค่าจ้างคนพิการ (๑) และการยกเว้นภาษีเงินได้จากการจ้าง
คนพิการในอัตราร้อยละ ๖๐ ของลูกจ้างในสถานประกอบการ (๒)
(๑) การยกเว้นภาษีเงินได้จากค่าจ้างคนพิการ
โดยทั่วไปนายจ้างและเจ้าของสถานประกอบการสามารถน�า
ค่าจ้างของลูกจ้างมาหักเป็นค่าใช้จ่ายได้ แต่หากเป็นค่าจ้างของคนพิการ
นอกจากนายจ้างและเจ้าของสถานประกอบการจะสามารถน�ามาหักเป็น
ค่าใช้จ่ายได้แล้ว นายจ้างและเจ้าของสถานประกอบการยังได้รับยกเว้นเงินได้
จากค่าจ้างคนพิการอีกปรากฏตามพระราชกฤษฎีกาออกตามความใน
ประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ๔๙๙) พ.ศ. ๒๕๕๓
ซึ่งก�าหนดว่า “ให้ยกเว้นภำษีเงินได้ตำมส่วน ๒ และส่วน ๓ หมวด ๓
ในลักษณะ ๒ แห่งประมวลรัษฎำกร ให้แก่นำยจ้ำงหรือเจ้ำของ
สถำนประกอบกำรซึ่งรับคนพิกำรที่มีบัตรประจ�ำตัวคนพิกำรตำมกฎหมำย
ว่ำด้วยกำรส่งเสริมและพัฒนำคุณภำพชีวิตคนพิกำรเข้ำท�ำงำน ส�ำหรับ
inside_ThLabourLaw_c3-5.indd 205 13/2/2562 16:37:44