Page 208 - kpi20761
P. 208

การพัฒนาและปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมายแรงงานไทยให้สอดคล้องกับหลักการสากลและแนวทางปฏิรูปประเทศ  207


                    คนพิกำรตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรส่งเสริมและพัฒนำคุณภำพชีวิตคนพิกำร
                    เข้ำท�ำงำนเกินกว่ำร้อยละหกสิบของลูกจ้ำงในสถำนประกอบกำรนั้น

                    โดยมีระยะเวลำจ้ำงเกินกว่ำหนึ่งร้อยแปดสิบวันในปีภำษีหรือรอบระยะเวลำ
                    บัญชีที่มีเงินได้ ส�ำหรับเงินได้เป็นจ�ำนวนร้อยละหนึ่งร้อยของรำยจ่ำย
                    ที่ได้จ่ำยเป็นค่ำใช้จ่ำยในกำรจ้ำงคนพิกำรดังกล่ำว เพิ่มขึ้นจำกสิทธิ

                    ยกเว้นภำษีเงินได้ตำมมำตรำ ๓ แห่งพระรำชกฤษฎีกำออกตำมควำม
                    ในประมวลรัษฎำกร ว่ำด้วยกำรยกเว้นรัษฎำกร (ฉบับที่ ๔๙๙) พ.ศ. ๒๕๕๓”

                    เมื่อพิจารณาแล้วจะพบว่าการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีดังกล่าวไม่ได้จ�ากัด
                    ประเภทของภาษีเงินได้ไว้ นายจ้างและเจ้าของสถานประกอบการไม่ว่าจะ
                    นายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการจะเป็นผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้

                    บุคคลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ตามย่อมสามารถใช้สิทธิประโยชน์ทาง
                    ภาษีดังกล่าวได้ นอกจากนี้ ในแง่ของเนื้อหาของสิทธิประโยชน์ทางภาษี

                    นายจ้างและเจ้าของสถานประกอบการที่จ้างคนพิการตามเงื่อนไขดังกล่าว
                    จะสามารถน�าค่าจ้างคนพิการมาหักเป็นค่าใช้จ่ายได้ถึง ๓ เท่า





                             ๔.๒.๑.๔      มาตรการส่งเสริมการจ้างคนพิการอื่น


                             พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
                    พ.ศ.๒๕๕๐ ได้ก�าหนดให้มีการจ้างคนพิการ แต่ยังมีการเปิดโอกาส
                    ให้นายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการสามารถเลือกการจ่ายเงิน

                    เข้ากองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแทนการจ้างคนพิการได้
                    นอกจากนี้ พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ

                    พ.ศ.๒๕๕๐ ซึ่งมีการแก้ไขในปี พ.ศ.๒๕๕๖ ได้มีการเพิ่มตัวเลือกให้แก่
                    นายจ้าง เจ้าของสถานประกอบการ และหน่วยงานของรัฐให้สัมปทาน
                    จัดสถานที่จ�าหน่ายสินค้าหรือบริการ จัดจ้างเหมาช่วงงานหรือจ้างเหมา








         inside_ThLabourLaw_c3-5.indd   207                                    13/2/2562   16:37:44
   203   204   205   206   207   208   209   210   211   212   213