Page 189 - kpi20761
P. 189

188


                 การที่ต้องกลับไปเผชิญชะตากรรมที่ไม่อาจคาดเคในความปลอดภัย
                 ของชีวิตได้ในประเทศตน  ผลที่ตามมาจากสถานการณ์นี้ก็คือ มีการใช้
                                      ๒๕๖
                 แรงงานผิดกฎหมาย การใช้แรงงานต่างด้าวที่ทารุณกรรมไร้มนุษยธรรมและ
                 ขัดต่อหลักสิทธิมนุษยชนเกิดขึ้นในประเทศไทย จนกระทั่งสหรัฐอเมริกา
                 ได้จัดให้ประเทศไทยอยู่ในกลุ่ม TIER 3 หรือกลุ่มประเทศที่ด�าเนินการ

                 ไม่สอดคล้องกับมาตรฐานขั้นต�่าตามกฎหมายการค้ามนุษย์ของสหรัฐและ
                                                                           ๒๕๗
                 ไม่ได้ใช้ความพยายามอย่างมีนัยส�าคัญในการแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์
                 ท�าให้รัฐบาลไทยจ�าต้องก�าหนดมาตรการต่างๆ เพื่อลดและขจัดปัญหา
                 ดังกล่าวจนกระทั่งท�าให้สหรัฐปรับระดับการค้ามนุษย์ของประเทศไทย
                 ลงเป็น TIER 2 เมื่อกลางปี ๒๕๕๙ ที่ผ่านมา ซึ่งผลจากนโยบาย

                 ของรัฐบาลเกี่ยวกับกฎหมายก็ประจักษ์ชัดว่ามีการประกาศใช้พระราชก�าหนด
                 การบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยเป็นการ

                 ประกาศใช้กฎหมายในลักษณะที่ค่อนข้างเร่งด่วน อันแสดงให้เห็นเจตนารมณ์
                 ของรัฐบาลว่าต้องการแก้ไขปัญหานี้ให้ส�าเร็จได้อย่างแท้จริง




                         กฎหมายการท�างานคนต่างด้าว : ความเพียงพอ หรือ
                 ความต้องการในการพัฒนา? ก่อนที่จะมีการประกาศใช้พระราชก�าหนด

                 การบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าวฯ ได้มีการตั้งกระทู้ถึงสถานะ
                 ของกฎหมายแรงงานไทยในการให้ความคุ้มครองต่อแรงงานกลุ่มนี้ว่า





                 ๒๕๖  โปรดศึกษาเพิ่มเติม กมลินทร์ พินิจภูวดล, ศุภศิษฏ์  ทวีแจ่มทรัพย์ และ น�้าผึ้ง
                 ทัศนัยพิทักษ์กุล, แรงงานข้ามข้ามชาติ รายงานวิจัยในลักษณะ Quick Research
                 ประเด็นเร่งด่วนของประชาคมอาเซียน, ส�านักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
                 รัฐสภา, ๒๕๕๙.
                 ๒๕๗  กระทรวงแรงงาน, การค้ามนุษย์, [ออนไลน์] http://www.mol.go.th/content/
                 human_trafficking [๑๒ มกราคม ๒๕๖๑]






         inside_ThLabourLaw_c3-5.indd   188                                    13/2/2562   16:37:43
   184   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194