Page 191 - kpi20761
P. 191

190


                 สัญญาจ้างก่อนก�าหนดโดยไม่ใช่ความผิดของตนในการแสวงหางานใหม่
                 ท�าภายในเวลาที่ก�าหนด  ซึ่งการออกบทบัญญัติที่มีเนื้อหาในลักษณะ
                                     ๒๕๘
                 ดังกล่าวถือว่าเป็นการแสดงได้อย่างประจักษ์ชัดถึงเจตนารมณ์ของรัฐที่จะ
                 แก้ไขปัญหาดังกล่าว เพราะหากน�ามาเปรียบเทียบกับนโยบายของรัฐบาล
                 ในช่วงเวลาที่ผ่านมา ๑๐ ปี ย้อนหลังพบว่า มีความขัดแย้งกันอยู่พอสมควร

                 ตัวอย่างเช่น ความพยายามในการลดปริมาณของแรงงานไร้ฝีมือต่างด้าว
                 และสนับสนุนให้เกิดการใช้แรงงานฝีมือตามที่ปรากฏในนโยบาย

                 ของคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนในช่วงปี ๒๕๕๖  ตลอดจน
                                                                 ๒๕๙
                 มาตรการในการขึ้นทะเบียนสัญชาติแรงงานต่างด้าวผิดกฎหมายและ
                 ให้อยู่ชั่วคราวเพื่อท�างานต่อไปได้ภายใต้เงื่อนไขที่เคร่งครัด


                         ดังนี้แล้ว การรับรองสิทธิทางแรงงานต่างๆ ที่เท่าเทียมกันของ
                 แรงงานต่างด้าวและแรงงานสัญชาติไทยตลอดจนบทกฎหมายเกี่ยวกับ

                 การท�างานของแรงงานต่างด้าวฉบับใหม่ที่ออกมาแสดงให้เห็นการยอมรับ
                 ถึงความต้องการแรงงานต่างด้าวของตลาดแรงงานไทยอย่างชัดเจน

                 ตลอดจนการให้มีการน�าเข้าแรงงานต่างด้าวในลักษณะของการประกอบ
                 ธุรกิจที่มีการควบคุมและด้วยตัวนายจ้างเอง ตลอดจนสิทธิในการอยู่ต่อ
                 เพื่อหางานท�าของแรงงานต่างด้าว ก็น่าจะเป็นการเพียงพอแล้วในส่วน

                 ของตัวบทกฎหมายที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการแรงงานในการที่จะคุ้มครอง
                 แรงงานต่างด้าว หากแต่ปัญหาที่เกิดขึ้นสืบเนื่องมาจากระบบการควบคุม

                 และตรวจสอบคนเข้าเมือง การวางแผนพัฒนาแรงงานไทย และทางปฏิบัติ
                 ในการตรวจสอบการใช้แรงงานจากหน่วยงานภาครัฐที่มีอ�านาจหน้าที่





                 ๒๕๘  โปรดศึกษารายละเอียดย่อหน้า ๒๙
                 ๒๕๙  ประชาไท, แห่คืนสิทธิ์ BOI ขอใช้แรงงานต่างด้าว, [ออนไลน์] https://www.
                 prachachat.net/news_detail.php?newsid=1358054891 [๑๙ มกราคม ๒๕๖๑]







         inside_ThLabourLaw_c3-5.indd   190                                    13/2/2562   16:37:43
   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196