Page 194 - kpi20761
P. 194

การพัฒนาและปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมายแรงงานไทยให้สอดคล้องกับหลักการสากลและแนวทางปฏิรูปประเทศ  193


                    แรงงานทั่วไปแต่ก็ไม่ถึงขั้นจ�าต้องก�าหนดเป็นการคุ้มครองแรงงานพิเศษ
                    ทั้งนี้ต้องมีการพิจารณาจากข้อเท็จจริงเป็นรายๆ ไปว่าผู้สูงอายุ

                    ที่ประสิทธิภาพในการท�างานยังครบถ้วนก็ย่อมท�างานได้เป็นปกติ แต่หาก
                    ผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพร่างกายก็อาจมีการลดจ�านวนชั่วโมงการท�างานลง
                    และลดประโยชน์ตอบแทนให้มีความสอดคล้องกัน เพื่อให้เกิดสมดุล

                    ระหว่างแรงงานที่ได้รับกับค่าตอบแทนที่เป็นต้นทุนในการประกอบกิจการ
                    ซึ่งในปัจจุบันนี้บทกฎหมายเองก็ยอมรับแนวคิดดังกล่าวนี้มาก�าหนดไว้

                    เป็นเหตุผลอธิบายให้คณะกรรมการค่าจ้างสามารถก�าหนดอัตราค่าจ้าง
                    ส�าหรับแรงงานกลุ่มพิเศษได้ ๒๖๓


                             ดังนี้แล้ว “กฎหมายแรงงานผู้สูงอายุ” นั้นน่าจะเป็นกฎเกณฑ์
                    ที่ส่งเสริมหรือให้โอกาสแก่ผู้สูงอายุได้กลับเข้าสู่ตลาดแรงงานอีกครั้งหนึ่ง
                    โดยที่กฎเกณฑ์ประเภทนี้ต้องท�าให้ผู้ประกอบการรู้สึกว่าไม่เป็นภาระ

                    หากแต่เป็นประโยชน์ที่ผู้ประกอบการจะได้ใช้แรงงานที่มีความรู้และ/หรือ
                    ประสบการณ์สูงในการท�างาน อันท�าให้เกิดความคุ้มค่าในการลงทุนจ้าง

                    งานและผลรับที่สถานประกอบการได้รับนั่นเอง




















                     ๒๖๓  พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๓









         inside_ThLabourLaw_c3-5.indd   193                                    13/2/2562   16:37:43
   189   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199