Page 192 - kpi20761
P. 192

การพัฒนาและปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมายแรงงานไทยให้สอดคล้องกับหลักการสากลและแนวทางปฏิรูปประเทศ  191


                    เกี่ยวข้อง ทั้งนี้เกิดจากการขาดแคลนในเรื่องก�าลังคนและงบประมาณ ๒๖๐
                    ซึ่งเป็นปัญหาในเชิงบริหารจัดการมากกว่าปัญหาในข้อกฎหมาย





                             ๓.๓.๒   แรงงานกับสังคมผู้สูงอายุ


                             สถานการณ์และความเป็นมา นับตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๒
                               ๒๖๑
                    เป็นต้นมา  อัตราการเกิดของประชากรไทยเริ่มน้อยลงและ
                    ใน พ.ศ. ๒๕๖๐ พบว่าจ�านวนประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทยมากกว่า
                    จ�านวนประชากรวัยเด็ก ท�าให้เกิดการคาดการณ์ว่าใน พ.ศ.๒๕๖๘
                    ประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ หรือสังคมที่มี

                    ประชากรอายุ ๖๐ ปีขี้นไปที่อยู่จริงในพื้นที่ต่อประชากรทุกช่วงอายุ
                    ในพื้นที่เดียวกัน ในอัตราเท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ ๒๐ ขึ้นไป หรือ

                    มีประชากรอายุ ๖๕ ปีขึ้นไปที่อยู่จริงในพื้นที่ต่อประชากรทุกช่วงอายุ
                                                                              ๒๖๒
                    ในพื้นที่เดียวกัน ในอัตราเท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ ๑๔ ขึ้นไป
                    ผลที่ตามมาของสถานการณ์นี้ก็คือรัฐบาลต้องมีภาระในการดูแล

                    ประชากรผู้สูงอายุมากขึ้น ในขณะที่ก�าลังแรงงานในตลาดแรงงาน




                    ๒๖๐  ผู้จัดการ Online, พนักงานตรวจแรงงานน้อย ๑ ต่อ ๑.๓ พันโรงงาน, [ออนไลน์]
                    http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9570000100006
                    [๒๐ มกราคม ๒๕๖๑]
                    ๒๖๑  มูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุ, สังคมผู้สูงอายุสมบูรณ์, [ออนไลน์] https://fopdev.
                    or.th/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1
                    %E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0
                    %B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B9
                    %82%E0%B8%94%E0%B8%A2%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%9A%
                    E0%B8%B9/ [๒๐ มกราคม ๒๕๖๑]
                    ๒๖๒  เพิ่งอ้าง







         inside_ThLabourLaw_c3-5.indd   191                                    13/2/2562   16:37:43
   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197