Page 184 - kpi20761
P. 184
การพัฒนาและปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมายแรงงานไทยให้สอดคล้องกับหลักการสากลและแนวทางปฏิรูปประเทศ 183
อัตราค่าจ้างที่สูงเป็นขั้นบันไดส�าหรับแรงงานฝีมือ อย่างไร
ก็ตาม ข้อเท็จจริงที่ไม่อาจปฏิเสธได้เลยส�าหรับกลุ่มแรงงานฝีมือก็คือ
๒๕๔
สิทธิในการได้รับค่าตอบแทนที่สูงขึ้นตามฝีมือ ที่มีความเชี่ยวชาญหรือ
ช�านาญการ ซึ่งข้อเท็จจริงส่วนนี้เองสามารถมองได้ ๒ แง่ด้วยกัน กล่าวคือ
ในแง่บวกเนื่องด้วยเป็นประโยชน์อย่างเหมาะสมกับผู้มีฝีมือในการท�างาน
และในแง่ลบเพราะค่าจ้างตามมาตราฐานฝีมือแรงงานที่นายจ้างต้องถือ
เป็นหลักในการปฏิบัติย่อมท�าให้กิจการมีค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้นหรือเกินกว่า
ความจ�าเป็นอันอาจเป็นผลให้เกิดการเลิกจ้างแรงงานฝีมือได้ หรือจ้างแต่
เฉพาะเท่าที่จ�าเป็น หรือจ้างแต่เฉพาะแรงงานฝีมือในระดับทั่วไปที่ไม่ใช่
ระดับเชี่ยวชาญ เพื่อเป็นการลดค่าใช้จ่ายที่เกินจ�าเป็นของกิจการนั่นเอง
ทิศทางของ “แรงงานฝีมือ” ประเด็นปัญหาดังกล่าวข้างต้นนี้
ท�าให้แรงงานที่ปรารถนายกระดับฝีมือตนเองมักจะเลือกพัฒนาฝีมือเพียง
เท่าที่เป็นขั้นสูงสุดที่ตลาดตามความเป็นจริงต้องการซึ่งอาจเป็นฝีมือระดับ
๒๕๕
ทั่วไป (ระดับ ๑) ไม่ใช่ฝีมือแรงงานระดับเชี่ยวชาญ (ระดับ ๓) เพราะการ
ฝึกฝีมือให้เพิ่มขึ้นไปยังระดับสูงสุดตามที่หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องโดยตรง
ก�าหนดก็อาจท�าให้บุคคลนั้นไม่ได้รับพิจารณาจ้างงาน หรืออาจจ�าเป็น
ต้องมาสมัครงานในต�าแหน่งที่ต�่ากว่าฝีมือที่ตนมีนั่นเอง สาเหตุที่ท�าให้
เกิดสภาพการณ์เช่นนี้ ส่วนหนึ่งก็มาจากค่านิยมอย่างไทยที่เห็นผู้ที่เรียน
สายสามัญเป็นผู้มีความรู้วิจารญาณ ส่วนผู้ที่เลือกศึกษาสายอาชีวะ
๒๕๔ พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ มาตรา ๗๙ (๔)
๒๕๕ ฝีมือแรงงานระดับ ๑ และ ระดับ ๓ นั้น คณะผู้วิจัยได้เทียบเคียงจากตารางสรุป
มาตรฐานฝีมือแรงงานที่ส�าคัญซึ่งจัดท�าขึ้นโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
โปรดศึกษา http://lb.mol.go.th/main.php?filename=content01
inside_ThLabourLaw_c3-5.indd 183 13/2/2562 16:37:43