Page 182 - kpi20761
P. 182
การพัฒนาและปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมายแรงงานไทยให้สอดคล้องกับหลักการสากลและแนวทางปฏิรูปประเทศ 181
กรอบเงื่อนไขดังกล่าวนี้ได้ปรากฏอยู่ในร่างพระราชบัญญัติ
ธนาคารแรงงานทั้งส่วนที่เป็นฉบับของ รศ.ดร.ณรงค์ เพ็ชรประเสริฐ และ
ฉบับของสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ
กองทุนเพื่อการออมและความมั่นคงของอนาคต การจัด
สวัสดิการให้แก่ลูกจ้างผู้ใช้แรงงานในรูปของเงินตรานั้น นอกจากที่ก�าหนด
บังคับไว้ในบทกฎหมายที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการแรงงานแล้ว นายจ้างและ
ลูกจ้างเองก็สามารถที่จะเข้าเป็นสมาชิกกองทุนซึ่งตั้งขึ้นด้วยมุ่งหมายจะให้
เกิดการออมจากสมาชิกแล้วกองทุนจะเป็นผู้บริหารเงินให้เกิดดอกผลและ
มีการจ่ายคืนเงินเพื่อให้ผู้เป็นสมาชิกสามารถน�าเงินนั้นไปใช้เลี้ยงชีพในยาม
เกษียณาอายุได้ ซึ่งกองทุนดังว่านี้ คือ กองทุนบ�าเหน็จบ�านาญแห่งชาติ
๒๕๑
และกองทุนการออมแห่งชาติ อย่างไรก็ตามเป็นเรื่องที่สามารถ
๒๕๒
ตั้งเป็นข้อสังเกตได้ว่า กองทุนทั้งสองกองทุนดังกล่าวนี้มีลักษณะของ
๒๕๓
การสวัสดิการสังคม ที่ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดท�าด้วยมากกว่า
การแรงงานโดยแท้ เพราะกองทุนทั้งสองเน้นความส�าคัญที่การมีเงินส�าหรับ
ยังชีพหลังจากเกษียณอายุ ซึ่งเป็นบทบัญญัติเพิ่มเติมประโยชน์ทดแทน
กรณีการชราภาพของกฎหมายประกันสังคมนั่นเอง หรือกล่าวโดยสรุปก็คือ
๒๕๑ กองทุนบ�าเหน็จบ�านาญแห่งชาติ โปรดศึกษา [ออนไลน์] http://www.thaipvd.
com/content_th.php?content_id=00043 [๒๐ มกราคม ๒๕๖๑]
๒๕๒ กองทุนการออมแห่งชาติ โปรดศึกษา [ออนไลน์] http://www.nsf.or.th/index.
php/2016-02-10-03-19-23 และhttp://www.nsf.or.th/images/nsf/pr/knowledge/
IntroduceNSF_25590907.pdf [๒๐ มกราคม ๒๕๖๑]
๒๕๓ วิจิตรา (ฟุ้งลัดดา) วิเชียรชม, กฎหมายสวัสดิการสังคม, (กรุงเทพฯ : โครงการ
ต�าราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
๒๕๕๕), หน้า ๒๔
inside_ThLabourLaw_c3-5.indd 181 13/2/2562 16:37:43