Page 159 - kpi20761
P. 159
158
ของสหภาพแรงงานในประเทศไทยถูกจ�ากัดไว้เพียง ๒ ประเภทส�าหรับ
ลูกจ้างภาคเอกชนคือ สหภาพแรงงานที่มีลูกจ้างของนายจ้างคนเดียวกัน
เป็นสมาชิก และสหภาพแรงงานที่มีลูกจ้างท�างานในกิจการประเภทเดียวกัน
เป็นสมาชิก ในขณะที่สหภาพของรัฐวิสาหกิจจ�ากัดประเภทของสหภาพ
๒๒๗
เหลือเพียงประเภทเดียว คือ สหภาพของลูกจ้างที่ท�างานในรัฐวิสาหกิจ
๒๒๘
แห่งเดียวกัน อย่างไรก็ตามร่างกฎหมายใหม่ว่าด้วยสหภาพข้าราชการ
ได้ก�าหนดให้สหภาพข้าราชการอาจจัดตั้งได้ถึง ๘ ประเภท โดยใช้ทั้ง
เกณฑ์ลูกจ้างในหน่วยงานเดียวกันและ/หรือในเขตพื้นที่เดียวกัน
ตลอดจนลูกจ้างต่างหน่วยงานกันและ/หรือต่างพื้นที่กัน อันท�าให้
๒๒๙
รูปแบบการจัดตั้งสหภาพข้าราชการมีความหลากหลายและสอดคล้อง
กับค�าว่า “เสรีภาพ” มากกว่านั่นเอง ซึ่งกฎหมายทั้งส่วนของภาคเอกชน
และรัฐวิสาหกิจก็อาจจ�าต้องทบทวนเนื้อหาในส่วนนี้ด้วย
เสรีภำพในกำรรวมกลุ่มกับปัญหำกำรเลือกปฏิบัติ เนื้อหา
บทบัญญัติกฎหมายเกี่ยวกับการแรงงานสัมพันธ์สะท้อนถึงเหตุที่อาจ
ท�าให้เกิดการเลือกปฏิบัติในการใช้เสรีภาพในการรวมกลุ่มของลูกจ้าง
๒ ประการ กล่าวคือ ประการแรก การใช้ “สัญชาติ” ของลูกจ้างมาก�าหนดเป็น
คุณสมบัติของผู้ที่มีสิทธิจัดตั้งสหภาพแรงงาน โดยที่บุคคลดังกล่าวจะต้อง
มีสัญชาติไทยเท่านั้น เป็นผลให้ในบางเขตพื้นที่ที่มีแรงงานต่างด้าว
๒๓๐
หนาแน่กว่าแรงงานสัญชาติไทย เช่น เขตอุตสาหกรรมเกี่ยวกับการประมง
๒๒๗ พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๙๕
๒๒๘ พระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ.๒๕๔๓ มาตรา ๔๑
๒๒๙
ร่างพระราชกฤษฎีกา ก�าหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการรวมกลุ่มข้าราชการ
พลเรือนสามัญ พ.ศ. ... มาตรา ๑๕
๒๓๐ พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๘ มาตรา ๘๘
inside_ThLabourLaw_c1-2.indd 158 13/2/2562 16:24:15