Page 151 - kpi20761
P. 151
150
(๑) มำตรกำรพัฒนำระบบบ�ำนำญแห่งชำติ
ระบบบ�านาญเป็นระบบที่มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อดูแลผู้สูงวัย
ยิ่งมีผู้สูงวัยมาก ระบบบ�านาญยิ่งมีความส�าคัญ มาตรการพัฒนาระบบ
บ�านาญพึงจะต้องตราเป็นกฎหมายระดับพระราชบัญญัติ นั่นคือ “พระราช
บัญญัติบ�านาญพื้นฐาน” พร้อมกับการบูรณาการสิทธิประโยชน์ชราภาพ
เข้ากับกองทุนการออมแห่งชาติและปฏิรูประบบกองทุนส�ารองเลี้ยงชีพ ๒๑๕
(๒) มำตรกำรกำรขยำยอำยุเกษียณและกำรท�ำงำน
ต่อเนื่องของประชำกรวัยท�ำงำน
เนื่องจากประชากรสูงวัยจะมีจ�านวนมากขึ้น แต่ประชากรสูงวัย
ยังมีศักยภาพในการท�างานอยู่จึงจ�าเป็นต้องมีการขยายอายุเกษียณ
ของภาครัฐ ส่งเสริมการจ้างงานต่อเนื่องของภาคเอกชน และส่งเสริม
การท�างานของผู้สูงวัย ๒๑๖
(ข) กำรปฏิรูประบบเพื่อรองรับสังคมสูงวัยด้ำนสังคม
การปฏิรูประบบเพื่อรองรับสังคมสูงวัยด้านสังคมให้ความส�าคัญ
กับรักษาก�าลังของวัยแรงงานที่ก�าลังลดน้อยลงพร้อมกับเพิ่มอัตรา
การเกิดให้มากขึ้นโดยการจัดสิ่งอ�านวยความสะดวกและสวัสดิการต่างๆ เช่น
ขยายสิทธิการลาคลอด เพิ่มโอกาสการลาของบิดาให้ดูแลบุตรหลังคลอด
เพิ่มโอกาสในการลาหยุดให้ดูแลผู้สูงวัย เพิ่มสิทธิประโยชน์เกี่ยวกับ
๒๑๗
การรักษาพยาบาล การเพิ่มค่าลดหย่อนทางภาษีของบุตร เป็นต้น
๒๑๕ สภาปฏิรูปแห่งชาติ วาระปฏิรูปที่ ๓๐ : การปฏิรูประบบเพื่อรองรับสังคมสูงวัย หน้า ๑๙-๒๑
๒๑๖
สภาปฏิรูปแห่งชาติ วาระปฏิรูปที่ ๓๐ : การปฏิรูประบบเพื่อรองรับสังคมสูงวัย หน้า ๒๒-๒๓
๒๑๗ สภาปฏิรูปแห่งชาติ วาระปฏิรูปที่ ๓๐ : การปฏิรูประบบเพื่อรองรับสังคมสูงวัย หน้า ๓๘
inside_ThLabourLaw_c1-2.indd 150 13/2/2562 16:24:15