Page 107 - kpi20761
P. 107
106
จะไม่ได้รับสิทธิและการคุ้มครองเท่ากับการเรียกก�าลัง
พลส�ารอง ตัวอย่างเช่น ระยะเวลาสูงสุดที่อาจถูกเรียก
เพื่อรับราชการทหารก�าหนดไว้ที่ ๒ ปี แต่การเรียกก�าลัง
พลส�ารองก�าหนดไว้ไม่เกิน ๖๐ วัน อันท�าให้เกิดการ
ตั้งประเด็นค�าถามถึงความขัดแย้งของกฎหมายฉบับนี้
กับหลักการเรื่องแรงงานบังคับและการยกเลิกแรงงาน
บังคับ ซึ่ง ILO ถือเป็นเงื่อนไขพื้นฐานในการใช้แรงงาน
(๒) อนุสัญญาฉบับที่ ๑๐๐ ว่าด้วยค่าตอบแทนที่เทียมกัน
ของคนงานชาย - หญิง ได้ถูกน�ามาใช้เป็นแนวทาง
ในการก�าหนดเนื้อหามาตรา ๕๓ พระราชบัญญัติ
คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ความว่า “ในกรณีที่งำน
มีลักษณะและคุณภำพอยำงเดียวกันและปริมำณเทำกัน
ให้นำยจ้ำงก�ำหนดคำจ้ำง คำลวงเวลำ คำท�ำงำนในวันหยุด
และคำลวงเวลำในวันหยุดให้แกลูกจ้ำงเทำเทียมกัน
ไมวำลูกจ้ำงนั้นจะเปนชำยหรือหญิง” อันแสดงให้เห็น
ความสอดคล้องของกฎหมายไทยกับเนื้อหาในอนุสัญญา
ฉบับนี้อย่างชัดแจ้ง
(๓) อนุสัญญาฉบับที่ ๑๓๘ ว่าด้วยอายุขั้นต�่า และอนุสัญญา
ฉบับที่ ๑๘๒ ว่าด้วยรูปแบบที่เลวร้ายที่สุดของการใช้
แรงงานเด็ก นั้นได้มีการน�ามาเป็นแนวทางในการก�าหนด
มาตรการการคุ้มครองแรงงานเด็กซึ่งถือว่าเป็นแรงงาน
ในกลุ่มที่ต้องได้รับการคุ้มครองเป็นพิเศษตามบทบัญญัติ
ของพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑
โดยมีการก�าหนดอายุขั้นต�่าที่จะเข้าสู่ตลาดแรงงาน
inside_ThLabourLaw_c1-2.indd 106 13/2/2562 16:24:13