Page 105 - kpi20761
P. 105
104
เป็นการใช้แรงงานบังคับ ท�าให้เกิดการตั้งค�าถามตามมาถึงบทกฎหมาย
๑๒๘
แรงงานไทยที่ยังขาดประสิทธิภาพหรือมีช่องว่างในการรับรองสิทธิ
ขั้นพื้นฐานของผู้ใช้แรงงานในบางประเด็นตามแนวทางของ ILO แม้ว่า
ประเทศไทยจะได้ให้สัตยาบันในอนุสัญญาที่มีเนื้อหาในเรื่องนั้นๆ
ไปเป็นระยะเวลาที่นานพอสมควรแล้วก็ตาม
(ข) วิเครำะห์ควำมสอดคล้องของกฎหมำยไทยกับเนื้อหำ
ในอนุสัญญำที่ได้ให้สัตยำบันแล้ว
หากน�าเนื้อหาในอนุสัญญาทั้ง ๑๘ ฉบับที่ประเทศได้ให้สัตยาบัน
ไว้แล้ว มาพิเคราะห์ประกอบกับเนื้อหาของบทบัญญัติกฎหมายแรงงานไทย
ในปัจจุบัน โดยจ�าแนกพิจารณาตามกลุ่มอนุสัญญาที่ ILO ได้ก�าหนดขึ้น
ก็จะท�าให้ทราบถึงความสอดคล้องของกฎหมายไทยกับหลักการในอนุสัญญา
มากขึ้น อีกทั้งยังให้ทราบถึงจุดที่กฎหมายไทยยังไม่เป็นไปตามแนวทาง
ของอนุสัญญาที่ได้ให้สัตยาบันไว้แล้วอีกส่วนหนึ่งด้วย
กฎหมำยแรงงำนไทยกับกลุ่มอนุสัญญำแกน อนุสัญญาแกน
ทั้ง ๖ ฉบับที่ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันไว้ ได้ถูกน�ามาใช้เป็นแนวทาง
เพื่อพัฒนากฎหมายแรงงานไทยให้มีความเป็นสากลได้อย่างสมบูรณ์แล้ว
๕ ฉบับ (๓ กลุ่ม) กล่าวคือ
๑๒๘ ไทยโพสต์, ยังติด “เทียร์ ๓” โทษไทยค้ำมนุษย์, ๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๘, [ออนไลน์],
http://www.thaipost.net/home เข้าถึงเมื่อ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๐. ; BBC, ไทยยังอยู่เทียร์ ๒
รำยงำนกำรค้ำมนุษย์สหรัฐ, ๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๐, [ออนไลน์], http://www.bbc.com/
thai/thailand-40420468, เข้าถึงเมื่อ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๐.
inside_ThLabourLaw_c1-2.indd 104 13/2/2562 16:24:12