Page 75 - kpi20680
P. 75

51







                              (2) แนวคิดการพัฒนาแบบองค์รวม คือ ต้องวางแผนการจัดการร่วมกับเรื่องอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
                       กับทรัพยากรน ้า เช่น ระบบการผลิต-ระบบการเกษตร การจัดการพลังงานหมุนเวียน การจัดการ

                       ทรัพยากรลุ่มน ้าชายฝั่ง การจัดการที่ดิน การจัดการพื้นที่ริมฝั่งและระบบนิเวศน์ริมฝั่งน ้า เช่น ป่าบุ่ง

                       ป่าทาม ป่าพรุ ฯลฯ การมองในมิติการจัดการร่วม เน้นการกระจายอ านาจ และการวางทิศทางการ
                       พัฒนาลุ่มน ้าที่จะท าให้มีการบริหารจัดการแบบการวางโซนนิ่ง การวางผังเมือง หรือการจัดการ

                       ทรัพยากรตั้งแต่ระดับลุ่มน ้าย่อย จนถึงระดับลุ่มน ้าใหญ่ และแนวคิด “การจัดการร่วม”   Co-

                       management และ“ระบบสิทธิเชิงช้อน”
                              เป้าหมายมีทรัพยากรน ้าเพียงพอและปลอดภัยจากสารเคมีในภาคเกษตรและ

                       ภาคอุตสาหกรรม

                              ปฎิรูปกฎหมายและกลไกจัดการน ้าการจัดสรรทรัพยากรน ้าเพื่อสนับสนุนระบบเกษตรราย
                       ย่อย

                              เกษตรยั่งยืน เกษตรปลอดสารเคมี และสนับสนุนเศรษฐกิจรายย่อยของท้องถิ่น ไม่ใช่เอา

                       ไปหนุนภาคอุตสาหกรรมขนาดใหญ่

                              การพัฒนาศักยภาพในการจัดการน ้า การพัฒนาศักยภาพกลุ่มองค์กรผู้ใช้น ้าในการ
                       พัฒนาการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับระบบนิเวศน์ในพื้นที่ลุ่มน ้านั้นๆ แทนการสร้างเขื่อนและ

                       โครงการผันน ้าขนาดใหญ่

                              กลไกในการจัดการหรือจัดท าแผนการบริหารจัดการน ้า เป็น“กลไกการจัดการร่วม”  ที่

                       ค านึงถึงระบบนิเวศวัฒนธรรม และบริบทการจัดการในระดับลุ่มน ้าย่อย และระดับพื้นที่เป็นตัวตั้งที่
                       มีองค์ประกอบของคนในพื้นที่มีส่วนร่วม ชุมชนเข้มแข็งมีระบบการจัดการน ้าของตนเอง มีระบบ

                       ข้อมูลเพื่อวางแผนการจัดการน ้า


                              กลไกที่ภาครัฐควรด าเนินการให้ประชาชนเข้ามีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรน ้า

                               “การจัดการร่วม”การจัดการน ้าภาคประชาชนมีส่วนร่วม มีกลไก มีการจัดตั้ง

                       คณะกรรมการลุ่มน ้าย่อยลุ่มน ้าย่อยใน 25 ลุ่มน ้า จะต้องมีคณะกรรมการระดับลุ่มน ้าและในระดับ
                       ลุ่มน ้าย่อย (สาขา) จะต้องมีองค์ประกอบของภาคประชาชน ที่มาจากการคัดเลือกกันเอง ขึ้นมาเชื่อม

                       กับคณะกรรมการลุ่มน ้า และคณะกรรมการระดับชาติต้องมีภาคประชาชนเข้าไปอยู่ด้วย

                              เน้นระบบการจัดการลุ่มน ้าย่อย ลุ่มน ้าสาขา มียุทธศาสตร์ร่วมที่เชื่อมตั้งแต่ลุ่มน ้าสาขาขึ้น
                       ไปสู่ลุ่มน ้าใหญ่ โดยเน้นระบบการพึ่งพาตัวเอง ให้พึ่งพาท้องถิ่นได้

                              ทิศทางการพัฒนาแบบบูรณาการ ทั้งการจัดการเรื่องความมั่นคงทางด้านอาหาร พื้นที่คน

                       ทรัพยากร การกระจายอ านาจ มีการจัดท าฐานข้อมูลทรัพยากรลุ่มน ้าร่วมกับประชาชนเพื่อวาง
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80