Page 74 - kpi20680
P. 74

50







                       ระดับโรงเรียน ด้วยการปรับปรุงโครงสร้างที่จ าเป็น การแก้ไขระเบียบ ควรมุ่งเน้นการกระจาย
                       อ านาจสู่หน่วยปฏิบัติ คือโรงเรียน เพื่อเพิ่มความเป็นอิสระและความรับผิดชอบ ในการจัดการเรียนรู้

                       ของเด็กและเยาวชนที่สอดคล้องความตองการของเด็กในพื้นที่


                       4.2 หน้าที่ของรัฐในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ


                              4.2.1 การจัดการทรัพยากรกรน ้า
                              สถานการณ์ปัญหา แนวโน้มนโยบายและทิศทางการพัฒนาทรัพยากรน ้าประเทศไทยมี

                       พื้นที่รวม 132 ล้านไร่ พื้นที่เกษตร 150 ล้านไร่ มีพื้นที่ชลประทานเพียง 40 ล้านไร่หน่วยงานรัฐ

                       อยากท าให้พื้นที่เป็น 60 ล้านไร่ต้องผันน ้าข้ามลุ่มน ้าและต้องแย่งน ้าจากลุ่มน ้าหนึ่งไปให้อีกลุ่มน ้า
                       หนึ่ง วิสัยทัศน์ของรัฐไปอีกแบบหนึ่ง มองน ้าเป็นน ้า มองการผันน ้า เพื่อป้อนเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ

                       อย่างเดียว ต้องหาแหล่งน ้าและหาโครงการเข้าไป

                              ยุทธศาสตร์น ้าปี 2537 ซึ่งเป็นระยะเวลากว่า 20 ปี ใช้งบประมาณเป็นแสนล้าน แต่เป็นงบ
                       ตามโครงการที่มีหน่วยงานมารวมกัน ไม่ได้วางยุทธศาสตร์หรือเป้าหมายร่วมไว้ ยุทธศาสตร์การ

                       จัดการที่ผ่านมานั้น เป็นลักษณะของการมีน ้าให้เพียงพอ และรวมโครงการต่างๆเข้าไปทั้งโครงการ

                       ขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ และมีทั้งโครงการขุดลอก ซึ่งเป็นโครงการที่มีปัญหามาก ส่วนหนึ่งไปท าลาย
                       ระบบนิเวศน์ และไปท าลายอนุสัญญาความหลากหลายทางชีวภาพด้วย ทั้งพรรณพืช สัตว์น ้าทุก

                       อย่างท าลายหมด และสุดท้ายตลิ่งพัง

                              ด้านกลไกการจัดการน ้าของประเทศปัจจุบันมีการช่วงชิงบทบาทกันเองระหว่างหน่วยงาน

                       ที่รับผิดชอบนโยบายในการจัดการน ้า ระหว่างกรมชลประทาน กรมทรัพยากรน ้า ซึ่งทั้งสอง
                       หน่วยงานเน้นที่นโยบายการจัดการน ้าขนาดใหญ่ ไม่ให้ความส าคัญและกีดกันบทบาทหน่วยงานที่

                       สนับสนุนทางเลือกการจัดการน ้าขนาดเล็กระดับไร่นา-ระดับชุมชนท้องถิ่น เช่น กรมพัฒนาที่ดิน

                       สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน ้าและการเกษตร เป็นต้น สถานการณ์นี้เหมาะสมที่ควรจะได้
                       รับทราบจากหน่วยงานรัฐเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวเนื่องกับวิธีคิด กระบวนการและเงื่อนไข

                       ส าคัญเกี่ยวกับกระบวนการและกลไกการจัดการน ้าของประเทศ เพื่อสร้างช่องทางที่จะสร้างความ

                       โปร่งใสการมีส่วนร่วมและการตรวจสอบการใช้อ านาจรัฐด้านนี้อย่างจริงจังการเข้าถึง หรือการมีน ้า

                       ที่พอเพียงส าหรับทุกคน ทุกกลุ่ม ความเท่าเทียมกัน การจัดสรรน ้าที่เป็นธรรม การมีน ้าเพียงพอ
                       ปลอดภัยส าหรับทุกชีวิต และทุกภาคส่วนสามารถเข้าถึงได้อย่างเท่าเทียมกัน

                              แนวคิดการจัดการทรัพยากรน ้า

                              (1) มองน ้าในหลายมิติ มองเรื่องการจัดการเชิงซ้อน มิติภูมิศาสตร์ มิติเชิงระบบนิเวศน์ มิติ
                       ด้านสิทธิ มิติทางวัฒนธรรม และมิติด้านเศรษฐกิจ (ไม่ใช่มองมิติเศรษฐกิจด้านเดียว)
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79